แหล่งข้อมูลของประเทศไทยบนเครือข่ายคอมพิวเตอ
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง
การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทำให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจำ, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทำให้ลดต้นทุนของระบบลงได้
[แก้] ชนิดของเครือข่ายเครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้ข้อมูล, โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอำนวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องได้ตลอดเวลา ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันเครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 3 แบบ ได้แก่
เครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน
เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร
เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN)
และยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ
เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)
เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายไร้สาย
[แก้] อุปกรณ์เครือข่ายเซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครืองแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ
มีฮาร์ดดิกส์ความจำสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย .
ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่าย
ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีทเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทำให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง
สวิตซ์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทำหน้าที่ในเรเยอร์ที่ 2 และทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทำให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยมเชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนการของข้อมูล
เราเตอร์ (Router)เป็นอุปรณ์ที่ทำหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกำหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ์ล (Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือาข่ายที่ให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
บริดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้
เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น
ดิจิตอลไลบรารี
เมื่อประมาณสามสิบปีที่แล้ว หากจะรวบรวมหนังสือวิชาการเฉพาะ เช่น วิชาเคมี ภายในห้องสมุดคงจะมีไม่เกินหนึ่งร้อยเล่ม และหากเข้าไปในห้องสมุดในยุคปัจจุบัน หนังสือที่ เกี่ยวกับวิชาเคมีมีมากมายหลายพันเล่ม
จำนวนหนังสือสิ่งพิมพ์มีการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมาก มีหนังสือวิชาการสาขาต่าง ๆ แตกแขนงย่อย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจนเชื่อแน่ว่า หากห้องสมุดยังคงเก็บหนังสือเช่นปัจจุบัน อีกไม่นานห้องสมุดจะพบปัญหาสถานที่เก็บคงต้องขยายอาคาร เพิ่มพื้นที่การจัดเก็บหนังสือ
มหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐอเมริกาประมาณสิบแห่ง ซึ่งได้แก่ มหาวิทยาลัยอิลลินอย สแตนฟอร์ด มิชิแกน เบอร์กเลย์ และคาร์เนกี้ เมลอน เป็นต้น ได้เข้าร่วมกับสถาบัน IEEE ของสหรัฐอเมริกาดำเนินโครงการ วิจัยและพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล
ห้องสมุดดิจิตอลในความหมายนี้คือ เป็นแหล่งที่เก็บเอกสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ ต่าง ๆ ในรูปแบบดิจิตอล ที่สามารถเรียกดูหรือค้นหาได้ผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความจริงลักษณะของการใช้งานสื่อสิ่งพิมพ์ผ่านทางเครือข่าย เราคงได้เห็นกันบ้างแล้ว เช่นการใช้ข้อมูลบนเครือข่ายเวิร์ลไวด์เว็บ บนอินเทอร์เน็ต มีการสร้างมาตรฐานไฮเปอร์เท็กซ์ เพื่อให้สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เก็บไว้ในรูปแบบโฮมเพ็จเชื่อมโยงถึงกัน เพื่อการเรียกใช้ที่ง่าย
มีการพัฒนาโปรแกรมบราวเซอร์ให้เป็นโปรแกรมสำหรับนำทางเข้าไปหายังโฮมเพจต่าง ๆ เรียกค้นข้อมูลที่ต้องการ สิ่งที่เป็นจุดเด่นก็คือ สามารถแสดงผลได้ทั้งรูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือแม้แต่วิดิโอ สิ่งพิมพ์ที่ปรากฎบนจอภาพจึงมีชีวิตชีวา
โครงการห้องสมุดดิจิตอลนี้ เป็นโครงการทดสอบเพื่อหาความเป็นไปได้ รวมทั้งการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อเป็นต้นแบบของการขยายผลในอนาคต มหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการ ได้สร้างห้องสมุดดิจิตอลที่เชื่อมโยงถึงกัน มีการนำเอกสารสิ่งพิมพ์ หนังสือต่าง ๆ แปรรูปเป็นข้อมูลดิจิตอลที่สามารถเรียกค้นได้บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากที่อยู่ห่างไกล
องค์กร IEEE และ acm ได้จัดพิมพ์วารสารทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์กว่าร้อยหัวเรื่อง วารสารส่วนใหญ่ออกเป็นรายเดือน มีผู้เป็นสมาชิกหลายแสนคนจากทั่วโลก ล่าสุด IEEE และ acm ได้เสนอกับสมาชิกสำหรับการบอกรับวารสารในปีใหม่ที่จะมาถึงนี้ในรูปแบบดิจิตอล สมาชิกสามารถเลือกรับวารสารแบบดิจิตอล หรือแบบเป็นหนังสือ หากรับแบบ ดิจิตอลก็สามารถเข้าไปเปิดอ่านโดยเรียกผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยเริ่มให้ลองใช้โฮมเพ็จที่ www.computer.org, www.acm.org
ข้อเด่นที่เชิญชวนให้สมัครสมาชิกเพื่อรับวารสารแบบดิจิตอล คือ ผู้รับสามารถอ่านฉบับย้อนหลัง และมีระบบค้นหาข้อมูล ทำให้การค้นหาสิ่งที่ต้องการได้ง่ายและรวดเร็ว
การพัฒนาห้องสมุดดิจิตอลมีรูปธรรมที่เป็นจริงอยู่มาก ข้อมูลหนังสือสิ่งพิมพ์ทั้งหมดที่เก็บไว้ไม่แตกต่างจากที่หยิบอ่านจากหนังสือจริง หากสั่งพิมพ์ออกมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ได้นั้นเสมือนการถ่ายจากต้นฉบับทุกประการ ที่สำคัญคือผู้อ่านได้รับรวดเร็วกว่าการจัดส่งทางไปรษณีย์
ความสำเร็จขั้นต้นนี้เกิดจากการพัฒนาของบริษัท Adobe ซึ่งเชี่ยวชาญในเรื่องการจัดพิมพ์เอกสาร Adobe มีชื่อเสียงในเรื่องการคิดค้นเทคโนโลยีการพิมพ์ เป็นผู้พัฒนาระบบ โพสคริปต์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์เลเซอร์ รวมถึงการพัฒนาโปรแกรมที่มีชื่อเสียงทางด้านการพิมพ์ที่ชื่อ เพ็จเมกเกอร์
บริษัท Adobe ได้พัฒนาโปรแกรมที่ชื่อ Acrobat Reader เป็นโปรแกรมที่ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ต สามารถดาวน์โหลดมาติดตั้งได้ฟรี โปรแกรมเมื่อประกอบรวมกับบราวเซอร์ ทำให้บราวเซอร์เปิดอ่านข้อมูลที่จัดเก็บในรูปสิ่งพิมพ์ดิจิตอลได้ทันที การจัดเก็บเอกสารไว้บนเซิร์ฟเวอร์เป็นแฟ้มประเภท .pdf
ลองจินตนาการดูว่า เทคโนโลยีการพิมพ์ในปัจจุบันใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพียงไรู การพิมพ์ต้นฉบับเริ่มจากการใช้เวิร์ดโปรเซสเซอร์ ูการสแกนรูปภาพ ูการตกแต่งแยกสีเพื่อทำแม่พิมพ์ก็ใช้คอมพิวเตอร์ การจัดหน้าพิมพ์หรือการวางองค์ประกอบ ต้องใช้โปรแกรมประเภท เดสท๊อปพับบลิชิง (DTP - Desk Top Publishing) แม้กระทั่งการพิมพ์ก็ใช้เครื่องพิมพ์ประเภทเลเซอร์ หรือเทคนิคการพิมพ์ชั้นสูงอื่นที่มีคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบ
ขบวนการพิมพ์เอกสารสิ่งพิมพ์ล้วนแล้วแต่เข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิกส์แล้วทั้งสิ้น การเก็บข้อมูลสิ่งพิมพ์ในรูปสื่อดิจิตอลจึงไม่ใช่เรื่องยาก โดยเฉพาะหากต้องการลดพื้นที่การเก็บหนังสือจำนวนมากในห้องสมุด การใช้หนังสือแบบดิจิตอล และเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการขนาดใหญ่มีฐานข้อมูลซีดีรอมจำนวนมาก การบริหารจะเป็นแบบอัตโนมัติ ขนาดของสถานที่จะลดลง
ลองนึกเลยต่อไปว่า หากต้องการค้นหาหนังสือเล่มใด ผู้ค้นไม่ต้องเดินทางไปห้องสมุด การเรียกค้นจากที่ใดก็ทำได้ และอยากค้นหาเมื่อไรก็ได้ เพราะห้องสมุดเปิดบริการตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง ห้องสมุดดิจิตอลจึงเป็นขุมความรู้ของผู้ใช้
หากมองเลยต่อไปว่า บริษัทผู้พิมพ์หนังสือเก็บไว้ในรูปสิ่งพิมพ์ดิจิตอล โดยไม่ต้องพิมพ์ลงบนกระดาษ ผู้ใช้ต้องเสียค่าบริการหรือเป็นสมาชิกจึงจะมีสิทธิในการเปิดอ่านได้ การบอกรับหนังสือพิมพ์ก็เพียงแต่ได้รหัสผ่านสำหรับเปิดอ่าน ผู้ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สามารถลดต้นทุนลงได้โดยไม่ต้องใช้กระดาษจริง ดังนั้นสมาชิกของ IEEE และ acm ที่บอกรับหนังสือดิจิตอลจึงเสียค่าบริการ ถูกกว่าวิธีการจัดส่งหนังสือจริงไปให้
กลุ่มมหาวิทยาลัยที่ร่วมกันศึกษาค้นคว้า และพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล จะเป็นโมเดลตัวอย่าง จะทำให้ห้องสมุดเป็นเครือข่ายความรู้ การดำเนินการแบบช่วยกันจะทำให้ห้องสมุดเติบใหญ่และขยายบริการได้อีกมาก การแบ่งกันใช้ทรัพยากรเป็นหนทางของมวลมนุษยชาติที่จะดำรงชีวิตร่วมกัน พึ่งพาอาศัยกัน
การสานฝันของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านนี้ ก็เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ เชื่อมั่นว่าอีกไม่ช้าเราจะได้เห็นห้องสมุดดิจิตอลที่สมบูรณ์แบบ และสามารถบริการคนทั่วโลกที่อยู่ห่างไกลได้
โลกแห่งความจริงเสมือนของห้องสมุด (Virtual Library) กำลังใกล้เข้ามาแล้ว
เมื่อประมาณสามสิบปีที่แล้ว หากจะรวบรวมหนังสือวิชาการเฉพาะ เช่น วิชาเคมี ภายในห้องสมุดคงจะมีไม่เกินหนึ่งร้อยเล่ม และหากเข้าไปในห้องสมุดในยุคปัจจุบัน หนังสือที่ เกี่ยวกับวิชาเคมีมีมากมายหลายพันเล่ม
จำนวนหนังสือสิ่งพิมพ์มีการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมาก มีหนังสือวิชาการสาขาต่าง ๆ แตกแขนงย่อย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจนเชื่อแน่ว่า หากห้องสมุดยังคงเก็บหนังสือเช่นปัจจุบัน อีกไม่นานห้องสมุดจะพบปัญหาสถานที่เก็บคงต้องขยายอาคาร เพิ่มพื้นที่การจัดเก็บหนังสือ
มหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐอเมริกาประมาณสิบแห่ง ซึ่งได้แก่ มหาวิทยาลัยอิลลินอย สแตนฟอร์ด มิชิแกน เบอร์กเลย์ และคาร์เนกี้ เมลอน เป็นต้น ได้เข้าร่วมกับสถาบัน IEEE ของสหรัฐอเมริกาดำเนินโครงการ วิจัยและพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล
ห้องสมุดดิจิตอลในความหมายนี้คือ เป็นแหล่งที่เก็บเอกสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ ต่าง ๆ ในรูปแบบดิจิตอล ที่สามารถเรียกดูหรือค้นหาได้ผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความจริงลักษณะของการใช้งานสื่อสิ่งพิมพ์ผ่านทางเครือข่าย เราคงได้เห็นกันบ้างแล้ว เช่นการใช้ข้อมูลบนเครือข่ายเวิร์ลไวด์เว็บ บนอินเทอร์เน็ต มีการสร้างมาตรฐานไฮเปอร์เท็กซ์ เพื่อให้สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เก็บไว้ในรูปแบบโฮมเพ็จเชื่อมโยงถึงกัน เพื่อการเรียกใช้ที่ง่าย
มีการพัฒนาโปรแกรมบราวเซอร์ให้เป็นโปรแกรมสำหรับนำทางเข้าไปหายังโฮมเพจต่าง ๆ เรียกค้นข้อมูลที่ต้องการ สิ่งที่เป็นจุดเด่นก็คือ สามารถแสดงผลได้ทั้งรูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือแม้แต่วิดิโอ สิ่งพิมพ์ที่ปรากฎบนจอภาพจึงมีชีวิตชีวา
โครงการห้องสมุดดิจิตอลนี้ เป็นโครงการทดสอบเพื่อหาความเป็นไปได้ รวมทั้งการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อเป็นต้นแบบของการขยายผลในอนาคต มหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการ ได้สร้างห้องสมุดดิจิตอลที่เชื่อมโยงถึงกัน มีการนำเอกสารสิ่งพิมพ์ หนังสือต่าง ๆ แปรรูปเป็นข้อมูลดิจิตอลที่สามารถเรียกค้นได้บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากที่อยู่ห่างไกล
องค์กร IEEE และ acm ได้จัดพิมพ์วารสารทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์กว่าร้อยหัวเรื่อง วารสารส่วนใหญ่ออกเป็นรายเดือน มีผู้เป็นสมาชิกหลายแสนคนจากทั่วโลก ล่าสุด IEEE และ acm ได้เสนอกับสมาชิกสำหรับการบอกรับวารสารในปีใหม่ที่จะมาถึงนี้ในรูปแบบดิจิตอล สมาชิกสามารถเลือกรับวารสารแบบดิจิตอล หรือแบบเป็นหนังสือ หากรับแบบ ดิจิตอลก็สามารถเข้าไปเปิดอ่านโดยเรียกผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยเริ่มให้ลองใช้โฮมเพ็จที่ www.computer.org, www.acm.org
ข้อเด่นที่เชิญชวนให้สมัครสมาชิกเพื่อรับวารสารแบบดิจิตอล คือ ผู้รับสามารถอ่านฉบับย้อนหลัง และมีระบบค้นหาข้อมูล ทำให้การค้นหาสิ่งที่ต้องการได้ง่ายและรวดเร็ว
การพัฒนาห้องสมุดดิจิตอลมีรูปธรรมที่เป็นจริงอยู่มาก ข้อมูลหนังสือสิ่งพิมพ์ทั้งหมดที่เก็บไว้ไม่แตกต่างจากที่หยิบอ่านจากหนังสือจริง หากสั่งพิมพ์ออกมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ได้นั้นเสมือนการถ่ายจากต้นฉบับทุกประการ ที่สำคัญคือผู้อ่านได้รับรวดเร็วกว่าการจัดส่งทางไปรษณีย์
ความสำเร็จขั้นต้นนี้เกิดจากการพัฒนาของบริษัท Adobe ซึ่งเชี่ยวชาญในเรื่องการจัดพิมพ์เอกสาร Adobe มีชื่อเสียงในเรื่องการคิดค้นเทคโนโลยีการพิมพ์ เป็นผู้พัฒนาระบบ โพสคริปต์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์เลเซอร์ รวมถึงการพัฒนาโปรแกรมที่มีชื่อเสียงทางด้านการพิมพ์ที่ชื่อ เพ็จเมกเกอร์
บริษัท Adobe ได้พัฒนาโปรแกรมที่ชื่อ Acrobat Reader เป็นโปรแกรมที่ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ต สามารถดาวน์โหลดมาติดตั้งได้ฟรี โปรแกรมเมื่อประกอบรวมกับบราวเซอร์ ทำให้บราวเซอร์เปิดอ่านข้อมูลที่จัดเก็บในรูปสิ่งพิมพ์ดิจิตอลได้ทันที การจัดเก็บเอกสารไว้บนเซิร์ฟเวอร์เป็นแฟ้มประเภท .pdf
ลองจินตนาการดูว่า เทคโนโลยีการพิมพ์ในปัจจุบันใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพียงไรู การพิมพ์ต้นฉบับเริ่มจากการใช้เวิร์ดโปรเซสเซอร์ ูการสแกนรูปภาพ ูการตกแต่งแยกสีเพื่อทำแม่พิมพ์ก็ใช้คอมพิวเตอร์ การจัดหน้าพิมพ์หรือการวางองค์ประกอบ ต้องใช้โปรแกรมประเภท เดสท๊อปพับบลิชิง (DTP - Desk Top Publishing) แม้กระทั่งการพิมพ์ก็ใช้เครื่องพิมพ์ประเภทเลเซอร์ หรือเทคนิคการพิมพ์ชั้นสูงอื่นที่มีคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบ
ขบวนการพิมพ์เอกสารสิ่งพิมพ์ล้วนแล้วแต่เข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิกส์แล้วทั้งสิ้น การเก็บข้อมูลสิ่งพิมพ์ในรูปสื่อดิจิตอลจึงไม่ใช่เรื่องยาก โดยเฉพาะหากต้องการลดพื้นที่การเก็บหนังสือจำนวนมากในห้องสมุด การใช้หนังสือแบบดิจิตอล และเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการขนาดใหญ่มีฐานข้อมูลซีดีรอมจำนวนมาก การบริหารจะเป็นแบบอัตโนมัติ ขนาดของสถานที่จะลดลง
ลองนึกเลยต่อไปว่า หากต้องการค้นหาหนังสือเล่มใด ผู้ค้นไม่ต้องเดินทางไปห้องสมุด การเรียกค้นจากที่ใดก็ทำได้ และอยากค้นหาเมื่อไรก็ได้ เพราะห้องสมุดเปิดบริการตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง ห้องสมุดดิจิตอลจึงเป็นขุมความรู้ของผู้ใช้
หากมองเลยต่อไปว่า บริษัทผู้พิมพ์หนังสือเก็บไว้ในรูปสิ่งพิมพ์ดิจิตอล โดยไม่ต้องพิมพ์ลงบนกระดาษ ผู้ใช้ต้องเสียค่าบริการหรือเป็นสมาชิกจึงจะมีสิทธิในการเปิดอ่านได้ การบอกรับหนังสือพิมพ์ก็เพียงแต่ได้รหัสผ่านสำหรับเปิดอ่าน ผู้ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สามารถลดต้นทุนลงได้โดยไม่ต้องใช้กระดาษจริง ดังนั้นสมาชิกของ IEEE และ acm ที่บอกรับหนังสือดิจิตอลจึงเสียค่าบริการ ถูกกว่าวิธีการจัดส่งหนังสือจริงไปให้
กลุ่มมหาวิทยาลัยที่ร่วมกันศึกษาค้นคว้า และพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล จะเป็นโมเดลตัวอย่าง จะทำให้ห้องสมุดเป็นเครือข่ายความรู้ การดำเนินการแบบช่วยกันจะทำให้ห้องสมุดเติบใหญ่และขยายบริการได้อีกมาก การแบ่งกันใช้ทรัพยากรเป็นหนทางของมวลมนุษยชาติที่จะดำรงชีวิตร่วมกัน พึ่งพาอาศัยกัน
การสานฝันของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านนี้ ก็เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ เชื่อมั่นว่าอีกไม่ช้าเราจะได้เห็นห้องสมุดดิจิตอลที่สมบูรณ์แบบ และสามารถบริการคนทั่วโลกที่อยู่ห่างไกลได้
โลกแห่งความจริงเสมือนของห้องสมุด (Virtual Library) กำลังใกล้เข้ามาแล้ว
ห้องสมุดแหล่งข้อมูลความรู้
ห้องสมุดจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
ชั้นวางหนังสือในห้องสมุดห้องสมุด คือแหล่งสารนิเทศ บริการทรัพยากรสารนิเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค วัสดุเทปและโทรทัศน์ CD-ROM DVD VCD รวมถึงไมโครฟิล์มด้วย โดยมีบรรณารักษ์ เป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารงานต่างๆ ในห้องสมุด โดยจัดระบบเป็นหมวดหมู่ และระเบียบเรียบร้อย เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุด มีความสะดวกสืบค้นได้ง่าย ตรงกับความต้องการ
ห้องสมุดในปัจจุบัน ทำหน้าที่เก็บรวบรวม จัดระบบ เพื่อให้บริการสื่อสารนิเทศต่างๆ ตลอดจนถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีทางการสื่อสาร อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการค้นหาและดำเนินการให้บริการสื่อต่างๆ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ห้องสมุด
ห้องสมุด ยังมีคำเรียกต่างๆ อีกมากมาย อาทิ ศูนย์ข้อมูล, ศูนย์วัสดุ, ศูนย์วัสดุการศึกษา, สถาบันวิทยบริการ, ศูนย์เอกสาร และ ศูนย์สารนิเทศ เป็นต้น
เนื้อหา [ซ่อน]
1 ความสำคัญของห้องสมุด
2 บทบาทของห้องสมุด
3 วัตถุประสงค์ของห้องสมุด
4 ระบบรหัสที่ใช้จัดเก็บหนังสือ
5 ดูเพิ่ม
6 อ้างอิง
7 แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้] ความสำคัญของห้องสมุดห้องสมุดยังเป็นสถานที่ที่ผู้ใช้สามารถเลือกอ่านหนังสือ และค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง อย่างอิสระ และ ตามความสนใจของแต่ล่ะบุคคล และยังเป็นสถานที่ ที่ทำก่อให้เกิดนิสัยรักการอ่านและการค้นคว้า จนกระทั่งทำให้ผู้ใช้ สามารถมองเห็นความแตกต่างของหนังสือ ว่าเล่มไหนเขียนได้ดี และสามารถจดจำแนวทางการเขียนที่ดี เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ได้ ทั้งยังช่วยให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ห้องสมุด ยังเป็นศูนย์ข้อมูล มีความรู้ที่ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เพราะห้องสมุดจำเป็นต้องมีข่าวสารใหม่ๆ ไว้บริการผู้ใช้
[แก้] บทบาทของห้องสมุดห้องสมุด มีบทบาทต่อบุคคลต่างๆ มากมาย ซึ่งห้องสมุด สามารถทำประโยชน์ต่อสังคมในด้านต่างๆ
ด้านการศึกษา ห้องสมุดเป็นแหล่งความรู้ที่ นักเรียน นักศึกษา สามารถค้นหาความรู้ด้วยตนเอง โดยห้องสมุดมีบทบาท ในการเสริมความรู้ และสนันสนุนการศึกษาในระบบ และให้โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ได้ใช้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาอาชีพให้ทันกับวิทยาการ และเทคโนโลยี ให้แก่ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือผู้ที่ได้สำเร็จการศึกษาแล้ว
ด้านวัฒนธรรม ห้องสมุดเป็นที่บำรุงรักษาวัฒนธรรมของชาติ ให้สืบทอดไปยังอนุชนรุ่นต่อไป เนื่องจากห้องสมุด เป็นแหล่งที่จัดเก็บข้อมูลทางด้านสารนิเทศ ซึ่งส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมต่างๆ และสามารถใช้บ่งบอกความเจริญก้าวหน้าของประเทศนั้นๆ อีกด้วย.....
[แก้] วัตถุประสงค์ของห้องสมุดวัตถุประสงค์หลักทั่วไปของห้องสมุดมีอยู่ด้วยกัน 5 ประการ ดังนี้
1.เพื่อการศึกษา - การใช้ห้องสมุด เป็นหัวใจของการศึกษา เพราะห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ สามารถให้ผู้คน รู้จักศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้เพิ่มเติมจากที่ร่ำเรียน ไม่ว่าจะเป็น นักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา รวมไปถึงผู้ที่จบการศึกษาแล้ว ประชาชนทั่วไป สามารถใช้ห้องสมุดศึกษาหาความรู้ได้ตลอดชีวิต
2.เพื่อให้ความรู้และข่าวสาร - ทุกวันนี้วิทยาการต่างๆ ก้าวไปอย่างรวดเร็ว ห้องสมุดเป็นสถานที่สำหรับศึกษาวิทยาการต่างๆ และติดตามข่าวความเคลื่อนไหวทั้งภายในและภายนอกประเทศทั่วโลก ทัให้คนรู้จักข่าวคราว ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ช่วยพัฒนาประเทศต่อไป
3.เพื่อใช้ในการค้นคว้า - ในห้องสมุด มีสารนิเทศมากมาย เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ เหมาะสำหรับเป็นเครื่องมือในการวิจัย ผู้ที่จะทำการวิจัย จำเป็นต้องใช้ข้อมูลเบื้องต้นจากเรื่องที่มีอยู่แล้ว
4.เพื่อจรรโลงใจมนุษย์ - การอ่านหนังสือ นอกเสียจากการได้ความรู้แล้ว ยังทำให้ผู้อ่านมีความสุขได้อีกด้วย เนื่องจากความซาบซึ้งในความคิดที่ดีงาม ให้ความจรรโลงใจในสิ่งที่ดีแก่ผู้อ่าน ก่อให้เกิดแรงบรรดาลใจ ให้ทำประโยชน์ต่อสังคม เช่น การอ่านหนังสือธรรมะ ทำให้ซาบซึ้งถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หนังสือวรรณกรรม วรรณคดี ทำให้เกิดจินตนาการ
5.เพื่อนันทนาการ - นอกจากการอ่านหนังสือวิชาการแล้ว ห้องสมุดยังเป็นสถานที่ในการพักผ่อนหย่อนใจ เพราะห้องสมุด ยังมีหนังสือประเภทต่างๆ เพื่อให้ความบันเทิงเบาสมอง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น นิตยสาร เป็นต้น ทำให้ผู้ใช้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และปลูกสำนึกรักการอ่าน รู้จักอ่านหนังสืออย่างมีวิจารณญาณ
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
สำหรับความหมายอื่น ดูที่ เลขมาตรฐานสำหรับหนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (อังกฤษ: Library of Congress Classification) เรียกย่อๆ ว่า L.C. เป็นระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือในห้องสมุดที่นิยมในหอสมุดขนาดใหญ่ที่มีหนังสือเฉพาะสาขาอยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหอสมุดในมหาวิทยาลัยและ ห้องสมุดทางการวิจัย ซึ่งถูกริเริ่มคิดขึ้นโดย ดร.เฮอร์เบิร์ต พัทนัม (Dr.Herbert Putnum) ชาวอเมริกัน บรรณารักษ์ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, ชาร์ลส์ มาร์เตล (Charles Martel) ชาวสวิตเซอร์แลนด์ หัวหน้าแผนกจัดหมวดหมู่หนังสือ และวิลเลียม ปาร์เกอร์ คัตเตอร์ (William Parker Cutter)
[แก้] หมวดหมู่การจัดหมวดหมู่หนังสือตามระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน แบ่งหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ ตามประเภทของหนังสือ โดยใช้ ตัวอักษรโรมันผสมกันตัวเลขอารบิก
[แก้] หมวดใหญ่โดยออกเป็น 20 หมวดใหญ่ โดยใช้ตัวอักษร A-Z ยกเว้น I,O,W,X และ Y ดังนี้
A ความรู้ทั่วไป (General Work)
B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion)
C ศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ (Auxiliary Sciences of History)
D ประวัติศาสตร์ทั่วไปและโลกเก่า (History:General)
E-F ประวัติศาสตร์อเมริกา (History:America (Western Hemisphere))
G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation)
H สังคมศาสตร์ (Social Sciences)
J รัฐศาสตร์ (Political Science)
K กฎหมาย (Law)
L การศึกษา (Education)
M ดนตรี (Music)
N วิจิตรศิลป์ (Fine Arts)
P ภาษาศาสตร์ วรรณกรรม (Linguistics, Literature)
Q วิทยาศาสตร์ (Science)
R แพทยศาสตร์ (Medicine)
S เกษตรศาสตร์ (Agriculture)
T เทคโนโลยี (Technology)
U วิทยาการทหาร (Military Science)
V นาวิกศาสตร์ (Naval Science)
Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library Science
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
ชั้นวางหนังสือในห้องสมุดห้องสมุด คือแหล่งสารนิเทศ บริการทรัพยากรสารนิเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค วัสดุเทปและโทรทัศน์ CD-ROM DVD VCD รวมถึงไมโครฟิล์มด้วย โดยมีบรรณารักษ์ เป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารงานต่างๆ ในห้องสมุด โดยจัดระบบเป็นหมวดหมู่ และระเบียบเรียบร้อย เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุด มีความสะดวกสืบค้นได้ง่าย ตรงกับความต้องการ
ห้องสมุดในปัจจุบัน ทำหน้าที่เก็บรวบรวม จัดระบบ เพื่อให้บริการสื่อสารนิเทศต่างๆ ตลอดจนถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีทางการสื่อสาร อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการค้นหาและดำเนินการให้บริการสื่อต่างๆ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ห้องสมุด
ห้องสมุด ยังมีคำเรียกต่างๆ อีกมากมาย อาทิ ศูนย์ข้อมูล, ศูนย์วัสดุ, ศูนย์วัสดุการศึกษา, สถาบันวิทยบริการ, ศูนย์เอกสาร และ ศูนย์สารนิเทศ เป็นต้น
เนื้อหา [ซ่อน]
1 ความสำคัญของห้องสมุด
2 บทบาทของห้องสมุด
3 วัตถุประสงค์ของห้องสมุด
4 ระบบรหัสที่ใช้จัดเก็บหนังสือ
5 ดูเพิ่ม
6 อ้างอิง
7 แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้] ความสำคัญของห้องสมุดห้องสมุดยังเป็นสถานที่ที่ผู้ใช้สามารถเลือกอ่านหนังสือ และค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง อย่างอิสระ และ ตามความสนใจของแต่ล่ะบุคคล และยังเป็นสถานที่ ที่ทำก่อให้เกิดนิสัยรักการอ่านและการค้นคว้า จนกระทั่งทำให้ผู้ใช้ สามารถมองเห็นความแตกต่างของหนังสือ ว่าเล่มไหนเขียนได้ดี และสามารถจดจำแนวทางการเขียนที่ดี เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ได้ ทั้งยังช่วยให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ห้องสมุด ยังเป็นศูนย์ข้อมูล มีความรู้ที่ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เพราะห้องสมุดจำเป็นต้องมีข่าวสารใหม่ๆ ไว้บริการผู้ใช้
[แก้] บทบาทของห้องสมุดห้องสมุด มีบทบาทต่อบุคคลต่างๆ มากมาย ซึ่งห้องสมุด สามารถทำประโยชน์ต่อสังคมในด้านต่างๆ
ด้านการศึกษา ห้องสมุดเป็นแหล่งความรู้ที่ นักเรียน นักศึกษา สามารถค้นหาความรู้ด้วยตนเอง โดยห้องสมุดมีบทบาท ในการเสริมความรู้ และสนันสนุนการศึกษาในระบบ และให้โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ได้ใช้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาอาชีพให้ทันกับวิทยาการ และเทคโนโลยี ให้แก่ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือผู้ที่ได้สำเร็จการศึกษาแล้ว
ด้านวัฒนธรรม ห้องสมุดเป็นที่บำรุงรักษาวัฒนธรรมของชาติ ให้สืบทอดไปยังอนุชนรุ่นต่อไป เนื่องจากห้องสมุด เป็นแหล่งที่จัดเก็บข้อมูลทางด้านสารนิเทศ ซึ่งส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมต่างๆ และสามารถใช้บ่งบอกความเจริญก้าวหน้าของประเทศนั้นๆ อีกด้วย.....
[แก้] วัตถุประสงค์ของห้องสมุดวัตถุประสงค์หลักทั่วไปของห้องสมุดมีอยู่ด้วยกัน 5 ประการ ดังนี้
1.เพื่อการศึกษา - การใช้ห้องสมุด เป็นหัวใจของการศึกษา เพราะห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ สามารถให้ผู้คน รู้จักศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้เพิ่มเติมจากที่ร่ำเรียน ไม่ว่าจะเป็น นักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา รวมไปถึงผู้ที่จบการศึกษาแล้ว ประชาชนทั่วไป สามารถใช้ห้องสมุดศึกษาหาความรู้ได้ตลอดชีวิต
2.เพื่อให้ความรู้และข่าวสาร - ทุกวันนี้วิทยาการต่างๆ ก้าวไปอย่างรวดเร็ว ห้องสมุดเป็นสถานที่สำหรับศึกษาวิทยาการต่างๆ และติดตามข่าวความเคลื่อนไหวทั้งภายในและภายนอกประเทศทั่วโลก ทัให้คนรู้จักข่าวคราว ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ช่วยพัฒนาประเทศต่อไป
3.เพื่อใช้ในการค้นคว้า - ในห้องสมุด มีสารนิเทศมากมาย เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ เหมาะสำหรับเป็นเครื่องมือในการวิจัย ผู้ที่จะทำการวิจัย จำเป็นต้องใช้ข้อมูลเบื้องต้นจากเรื่องที่มีอยู่แล้ว
4.เพื่อจรรโลงใจมนุษย์ - การอ่านหนังสือ นอกเสียจากการได้ความรู้แล้ว ยังทำให้ผู้อ่านมีความสุขได้อีกด้วย เนื่องจากความซาบซึ้งในความคิดที่ดีงาม ให้ความจรรโลงใจในสิ่งที่ดีแก่ผู้อ่าน ก่อให้เกิดแรงบรรดาลใจ ให้ทำประโยชน์ต่อสังคม เช่น การอ่านหนังสือธรรมะ ทำให้ซาบซึ้งถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หนังสือวรรณกรรม วรรณคดี ทำให้เกิดจินตนาการ
5.เพื่อนันทนาการ - นอกจากการอ่านหนังสือวิชาการแล้ว ห้องสมุดยังเป็นสถานที่ในการพักผ่อนหย่อนใจ เพราะห้องสมุด ยังมีหนังสือประเภทต่างๆ เพื่อให้ความบันเทิงเบาสมอง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น นิตยสาร เป็นต้น ทำให้ผู้ใช้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และปลูกสำนึกรักการอ่าน รู้จักอ่านหนังสืออย่างมีวิจารณญาณ
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
สำหรับความหมายอื่น ดูที่ เลขมาตรฐานสำหรับหนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (อังกฤษ: Library of Congress Classification) เรียกย่อๆ ว่า L.C. เป็นระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือในห้องสมุดที่นิยมในหอสมุดขนาดใหญ่ที่มีหนังสือเฉพาะสาขาอยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหอสมุดในมหาวิทยาลัยและ ห้องสมุดทางการวิจัย ซึ่งถูกริเริ่มคิดขึ้นโดย ดร.เฮอร์เบิร์ต พัทนัม (Dr.Herbert Putnum) ชาวอเมริกัน บรรณารักษ์ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, ชาร์ลส์ มาร์เตล (Charles Martel) ชาวสวิตเซอร์แลนด์ หัวหน้าแผนกจัดหมวดหมู่หนังสือ และวิลเลียม ปาร์เกอร์ คัตเตอร์ (William Parker Cutter)
[แก้] หมวดหมู่การจัดหมวดหมู่หนังสือตามระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน แบ่งหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ ตามประเภทของหนังสือ โดยใช้ ตัวอักษรโรมันผสมกันตัวเลขอารบิก
[แก้] หมวดใหญ่โดยออกเป็น 20 หมวดใหญ่ โดยใช้ตัวอักษร A-Z ยกเว้น I,O,W,X และ Y ดังนี้
A ความรู้ทั่วไป (General Work)
B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion)
C ศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ (Auxiliary Sciences of History)
D ประวัติศาสตร์ทั่วไปและโลกเก่า (History:General)
E-F ประวัติศาสตร์อเมริกา (History:America (Western Hemisphere))
G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation)
H สังคมศาสตร์ (Social Sciences)
J รัฐศาสตร์ (Political Science)
K กฎหมาย (Law)
L การศึกษา (Education)
M ดนตรี (Music)
N วิจิตรศิลป์ (Fine Arts)
P ภาษาศาสตร์ วรรณกรรม (Linguistics, Literature)
Q วิทยาศาสตร์ (Science)
R แพทยศาสตร์ (Medicine)
S เกษตรศาสตร์ (Agriculture)
T เทคโนโลยี (Technology)
U วิทยาการทหาร (Military Science)
V นาวิกศาสตร์ (Naval Science)
Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library Science
กระดาษข่าวอิเร็คทรอนิค (web forum)
กระดาษอิเล็กทรอนิกส์จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จอภาพกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ต้นแบบ ใช้ฟิล์มสร้างภาพอิเล็กทรอฟอเรติกของ E Inkกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: Electronic paper) บางครั้งก็เรียกว่า อีเปเปอร์ เป็นเทคโนโลยีการแสดงผลที่เลียนแบบลักษณะการใช้หมึกบนกระดาษปกติ แต่แตกต่างจากจอแสดงผลแบบจอแบนโดยทั่วไป ตรงที่มีการใช้แบคไลต์ เพื่อให้ความสว่างแต่เซลล์ภาพ (pixel) ทำให้กระดาษอิเล็กทรอนิกส์สะท้อนแสงได้เหมือนกระดาษทั่วไป และสามารถบันทึกข้อความและภาพโดยไม่ต้องอาศัยไฟฟ้า หรือการใช้กำลังประมวลผล ขณะเดียวกันก็สามารถเปลี่ยนกระดาษได้ด้วย คุณลักษณะสำคัญอย่างหนึ่งที่จำเป็นก็คือ เซลล์ภาพจะมีเสถียรภาพด้านภาพแบบไบสเตเบิล ทให้สถานะของแต่ละเซลล์ภาพสามารถคงอยู่ โดยไม่ต้องมีการจ่ายกำลังไฟ
กระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการพัฒนาขึ้นมาเพื่อเอาชนะข้อจำกัดของจอมอนิเตอร์สำหรับคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น การใช้แสงแบคไลต์ของมอนิเตอร์นั้นทำให้สายตาของมนุษย์ล้า ขณะที่กระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นสะท้อนแสงคล้ายกระดาษปกติ ทำให้อ่านเมื่อวางเป็นมุมเอียงได้ง่ายกว่าอ่านจอคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังมีน้ำหนักเบา ทนทาน และโค้งงอได้มากกว่า เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีจอแสดงผลแบบอื่นๆ แม้จะไม่สามารถโค้งงอหรือยับได้เหมือนกระดาษก็ตาม
การประยุกต์ใช้งานในอนาคตนั้นคาดว่าจะมีหนังสือที่ใช้กระดาษอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถเป็นรุ่นเก็บข้อมูลดิจิตอลจากหนังสือต่างๆ มากมาย โดยมีหนังสือเพียงเล่มเดียวที่แสดงผลหน้าต่างๆ พร้อมกัน โปสเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ และโฆษณาอื่นๆ ในร้านค้านั้นได้มีการสาธิตอยู่บ้างแล้ว
สำหรับกระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นไม่เหมือนกับกระดาษดิจิตอล เพราะกระดาษดิจิตอลนั้น เป็นกระดาษที่มีรูปแบบลวดลายอย่างหนึ่ง ต้องใช้กับปากกาดิจิตอล เพื่อสร้างเอกสารลายมือแบบดิจิตอล รูปแบบของจุดที่พิมพ์นั้นจะบ่งบอกโคออดิเนตที่ชัดเจนบนกระดาษ สำหรับปากกาดิจิตอลที่ใช้จะเก็บลายมือเอาไว้ และโหลดเข้าไปยังคอมพิวเตอร์
[แก้] เทคโนโลยีกระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการพัฒนาครั้งแรก ในราวทศวรรษ 1970 โดย Nick Sheridon แห่งศูนย์วิจัยแพโล แอลโต ของซีรอกซ์ กระดาษอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นแรก เรียกว่า Gyricon ประกอบด้วยทรงกลมโพลีเอทีลีน มีขนาดระหว่าง 20-100 ไมโครเมตร แต่ละทรงกลมประกอบด้วยพลาสติกสีดำมีประจุลบที่ด้านหนึ่ง และพลาสติกสีขาวมีประจุบวกอีกด้านหนึ่ง ทรงกลมนี้ถูกฝังอยู่ในแผ่นซิลิโคนโปร่งใส แต่ละลูกจะแขวนลอยอยู่ในฟองน้ำมัน ทำให้มันสามารถหมุนไปได้โดยอิสระ สภาพขั้วของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้ขั้วไฟฟ้าแต่ละคู่ จะพิจารณาว่าด้านขาวหรือด้านดำที่หันขึ้นด้านบน และจะทำให้พิกเซลสีดำหรือสีขาวปรากฏขึ้น
เมื่อมาถึงทศวรรษ 1990 มีการประดิษฐ์กระดาษอิเล็กทรอนิกส์อีกชนิดหนึ่งขึ้นมา โดยนายโจเซฟ จาคอบสัน (Joseph Jacobson) ซึ่งภายหลังได้ร่วยมก่อตั้งบริษัท E Ink ขึ้น และได้เป็นพันธมิตรกับ Philips Components อีกสองปีต่อมาจึงได้พัฒนาและทำตลาดเทคโนโลยีดังกล่าวขึ้นอย่างจริงจัง
เทคโนโลยีดังกล่าวนี้ใช้ไมโครแคปซูลขนาดจิ๋ว ที่บรรรจุอนุภาคระดับโมเลกุลสีขาวที่มีประจุไฟฟ้า แขวนลอยอยู่ในน้ำมันแร่มีสี กระดาษอิเล็กทรอนิกส์รุ่นแรกๆ นั้นมีวงจรที่ใช้ควบคุมว่าอนุภาคหรือขาวอยู่ที่ด้านบนของแคปซูล (ทำให้ผู้ชมเห็นเป็นสีขาว) หรือที่ด้านล่างของแคปซูล (ทำให้ผู้ชมเห็นเป็นสีของน้ำมัน) ข้อนี้เป็นจุดสำคัญ เพราะเป็นการแนะนำเทคโนโลยีจอแสดงผลแบบ Electrophoresis ขึ้นใหม่ แต่การใช้ไมโครแคปซูลทำให้มีการใช้จอแสดงผลบนแผ่นพลาสติกโค้งงอได้ แทนที่จะเป็นกระดาษ
กระดาษอิเล็กทรอนิกส์รุ่นแรกๆ แบบหนึ่งประกอบด้วยแผ่นแคปซูลโปร่งแสงขนาดเล็กมาก แต่ละแผ่นมีขนาดประมาณ 40 ไมโครเมตร แต่ละแคปซูลประกอบด้วยสารละลายเหมือนน้ำมัน มีสีย้อมสีดำ (หมึกอิเล็กทรอนิกส์) และมีอนุภาคไทเทเนียมไอออกไซด์สีขาวจำนวนมากแขวนลอยอยู่ภายใน อนุภาคเหล่านี้มีประจุไฟฟ้าลบไม่สูงนัก และแต่ละอนุภาคก็มีสีขาวโดยธรรมชาติ
แคปซูลขนาดเล็กที่เรียกว่าไมโครแคปซูลนี้ถูกยึดไว้ในชั้นผิวของพอลิเมอร์เหลว ประกบอยู่ระหว่างขั้วไฟฟ้าสองชุด ด้านบนทำด้วยอินเดียมทินออกไซด์ (ITO) เป็นโลหะนำไฟฟ้าโปร่งแสง
มีสองอาเรย์ที่ถูกเรียงทำทำให้แผ่นแคปซูลถูกแบ่งเป็นพิกเซล ซึ่งแต่ละพิกเซลจะสอดคล้องกับคู่อิเล็กโตรดที่อิ่มตัวทั้งสองด้านของแผ่น แผ่นดังกล่าวถูกเคลือบด้วยพลาสติกโปร่งแสงเพื่อป้องกันความเสียหาย ทำให้มีความหนารูปไข่ 80 ไมโครเมตร หรือสองเท่าของกระดาษธรรมดา
โครงข่ายของอิเล็กโตรดจะถูกเชื่อมต่อเข้ากับวงจรแสดงผล ซึ่งเปลี่ยนหมึกอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็น เปิด และ ปิด ที่พิกเซลหนึ่งๆ โดยการจ่ายแรงดันไฟฟ้าไปยังคู่อิเล็กโตรดนั้นๆ การจ่ายประจุลบไปยังอิเล็กโตรดที่พื้นผิว จะผลักอนุภาคไปยังด้านล่างสุดของแคปซูลนั้นๆ เป็นการผลักสีย้อมดำไปยังพื้นผิว และทำให้เซลล์ภาพนั้นปรากฏเป็นสีดำ เมื่อมีการแปลงสลับแรงดันไฟฟ้า ก็มีผลตรงกันข้าม คือทำให้อนุภาคถูกขับจากพื้นผิว ทำให้เซลล์ภาพปรากฏเป็นสีขาว
เมื่อเร็วๆ นี้มีการใช้อิเล็กโตรดชั้นเดียวใต้ไมโครแคปซูล ซึ่งนับว่าลดความยุ่งยากลงได้เป็นอย่างมาก
[แก้] กระดาษสี หรือโพลีโครมกระดาษอีเปเปอร์แบบสีอย่างง่าย ประกอบด้วยฟิลเตอร์เสริมเป็นสี ขนาดบาง เพิ่มเข้าไปยังเทคโนโลยีโมโนโครม (กระดาษสีเดียว หรือขาวดำ) ที่กล่าวมาข้างต้น อาร์เรย์ของพิกเซลนั้นแบ่งเป็นแม่สี ซึ่งปกติประกอบด้วยสีแดง เขียว และน้ำเงินมาตรฐาน ในลักษณะเดียวกับมอนิเตอร์แบบ CRT จอแบบนี้จะถูกควบคุมคล้ายกับจอแสดงผลภาพสีแบบอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
[แก้] การประยุกต์ใช้มีแนวทางการใช้กระดาษอิเล็กทรอนิกส์นี้มากมายหลายอย่าง โดยใช้ร่วมกับเทคโนโลยีที่กำลังพัฒนาร่วมของบริษัทต่างๆ ที่มีความสนใจและชำนาญในสาขานี้ เทคโนโลยีด้านอื่นๆ ที่ถูกประยุกต์เข้ากับกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ได้แก่ การปรับปรุงจอแสดงผลแบบผลึกเหลว (liquid crystal display : LCD), จอแสดงผลอิเล็กโตรโครมิก (electrochromic display) และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ จาก Etch-A-Sketch ที่มหาวิทยาลัยคิวชู ประเทศญี่ปุ่น
Gyricon ได้พัฒนากระดาษอิเล็กทรอนิกส์อีกแบบหนึ่ง ร่วมกับ Philips Electronics, Kent Displays (จอแสดงผลคอเลสเตอริก), Nemoptic (เทคโนโลยี bistable nematic - BiNem), NTERA (จอแสดงผล electrochromic NanoChromics), E Ink และ SiPix Imaging (electrophoretic) และอื่นๆ อีกมาก
[แก้] การประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์E Ink Corporation ได้ร่วมงานกับบริษัทต่างๆ เช่น Phillips และ Sony เพื่อพัฒนาการประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ ทั้งยังประกาศเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ.2005 ว่า จะเริ่มจัดส่ง shipping developer kits เป็นกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ ความละเอียด 800 x 600 ขนาด 6 นิ้ว ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2005 และวันที่ 14 – 15 กรกฎาคม ค.ศ.2005 Fujitsu ได้แสดงกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ที่ตนร่วมพัฒนา ที่ Tokyo International Forum โดยมีการใช้กำลังไฟต่ำ และไม่ต้องการไฟฟ้า เว้นแต่ในช่วงการเปลี่ยนภาพบนจอเท่านั้น ทำให้กระดาษเล็กทรอนิกส์เหมาะสมเป็นพิเศษ สำหรับเป็นแผ่นป้ายโฆษณา หรือป้ายแจ้งข่าวสารในสถานที่สาธารณะ แทนที่กระดาษที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ในประเทศจีนให้ความสำคัญของเทคโนโลยีนี้ ด้วยจัดเป็นวิสาหกิจ กระดาษอิเล็กทรอนิกส์ iRex
จอภาพกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ต้นแบบ ใช้ฟิล์มสร้างภาพอิเล็กทรอฟอเรติกของ E Inkกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: Electronic paper) บางครั้งก็เรียกว่า อีเปเปอร์ เป็นเทคโนโลยีการแสดงผลที่เลียนแบบลักษณะการใช้หมึกบนกระดาษปกติ แต่แตกต่างจากจอแสดงผลแบบจอแบนโดยทั่วไป ตรงที่มีการใช้แบคไลต์ เพื่อให้ความสว่างแต่เซลล์ภาพ (pixel) ทำให้กระดาษอิเล็กทรอนิกส์สะท้อนแสงได้เหมือนกระดาษทั่วไป และสามารถบันทึกข้อความและภาพโดยไม่ต้องอาศัยไฟฟ้า หรือการใช้กำลังประมวลผล ขณะเดียวกันก็สามารถเปลี่ยนกระดาษได้ด้วย คุณลักษณะสำคัญอย่างหนึ่งที่จำเป็นก็คือ เซลล์ภาพจะมีเสถียรภาพด้านภาพแบบไบสเตเบิล ทให้สถานะของแต่ละเซลล์ภาพสามารถคงอยู่ โดยไม่ต้องมีการจ่ายกำลังไฟ
กระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการพัฒนาขึ้นมาเพื่อเอาชนะข้อจำกัดของจอมอนิเตอร์สำหรับคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น การใช้แสงแบคไลต์ของมอนิเตอร์นั้นทำให้สายตาของมนุษย์ล้า ขณะที่กระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นสะท้อนแสงคล้ายกระดาษปกติ ทำให้อ่านเมื่อวางเป็นมุมเอียงได้ง่ายกว่าอ่านจอคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังมีน้ำหนักเบา ทนทาน และโค้งงอได้มากกว่า เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีจอแสดงผลแบบอื่นๆ แม้จะไม่สามารถโค้งงอหรือยับได้เหมือนกระดาษก็ตาม
การประยุกต์ใช้งานในอนาคตนั้นคาดว่าจะมีหนังสือที่ใช้กระดาษอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถเป็นรุ่นเก็บข้อมูลดิจิตอลจากหนังสือต่างๆ มากมาย โดยมีหนังสือเพียงเล่มเดียวที่แสดงผลหน้าต่างๆ พร้อมกัน โปสเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ และโฆษณาอื่นๆ ในร้านค้านั้นได้มีการสาธิตอยู่บ้างแล้ว
สำหรับกระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นไม่เหมือนกับกระดาษดิจิตอล เพราะกระดาษดิจิตอลนั้น เป็นกระดาษที่มีรูปแบบลวดลายอย่างหนึ่ง ต้องใช้กับปากกาดิจิตอล เพื่อสร้างเอกสารลายมือแบบดิจิตอล รูปแบบของจุดที่พิมพ์นั้นจะบ่งบอกโคออดิเนตที่ชัดเจนบนกระดาษ สำหรับปากกาดิจิตอลที่ใช้จะเก็บลายมือเอาไว้ และโหลดเข้าไปยังคอมพิวเตอร์
[แก้] เทคโนโลยีกระดาษอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการพัฒนาครั้งแรก ในราวทศวรรษ 1970 โดย Nick Sheridon แห่งศูนย์วิจัยแพโล แอลโต ของซีรอกซ์ กระดาษอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นแรก เรียกว่า Gyricon ประกอบด้วยทรงกลมโพลีเอทีลีน มีขนาดระหว่าง 20-100 ไมโครเมตร แต่ละทรงกลมประกอบด้วยพลาสติกสีดำมีประจุลบที่ด้านหนึ่ง และพลาสติกสีขาวมีประจุบวกอีกด้านหนึ่ง ทรงกลมนี้ถูกฝังอยู่ในแผ่นซิลิโคนโปร่งใส แต่ละลูกจะแขวนลอยอยู่ในฟองน้ำมัน ทำให้มันสามารถหมุนไปได้โดยอิสระ สภาพขั้วของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้ขั้วไฟฟ้าแต่ละคู่ จะพิจารณาว่าด้านขาวหรือด้านดำที่หันขึ้นด้านบน และจะทำให้พิกเซลสีดำหรือสีขาวปรากฏขึ้น
เมื่อมาถึงทศวรรษ 1990 มีการประดิษฐ์กระดาษอิเล็กทรอนิกส์อีกชนิดหนึ่งขึ้นมา โดยนายโจเซฟ จาคอบสัน (Joseph Jacobson) ซึ่งภายหลังได้ร่วยมก่อตั้งบริษัท E Ink ขึ้น และได้เป็นพันธมิตรกับ Philips Components อีกสองปีต่อมาจึงได้พัฒนาและทำตลาดเทคโนโลยีดังกล่าวขึ้นอย่างจริงจัง
เทคโนโลยีดังกล่าวนี้ใช้ไมโครแคปซูลขนาดจิ๋ว ที่บรรรจุอนุภาคระดับโมเลกุลสีขาวที่มีประจุไฟฟ้า แขวนลอยอยู่ในน้ำมันแร่มีสี กระดาษอิเล็กทรอนิกส์รุ่นแรกๆ นั้นมีวงจรที่ใช้ควบคุมว่าอนุภาคหรือขาวอยู่ที่ด้านบนของแคปซูล (ทำให้ผู้ชมเห็นเป็นสีขาว) หรือที่ด้านล่างของแคปซูล (ทำให้ผู้ชมเห็นเป็นสีของน้ำมัน) ข้อนี้เป็นจุดสำคัญ เพราะเป็นการแนะนำเทคโนโลยีจอแสดงผลแบบ Electrophoresis ขึ้นใหม่ แต่การใช้ไมโครแคปซูลทำให้มีการใช้จอแสดงผลบนแผ่นพลาสติกโค้งงอได้ แทนที่จะเป็นกระดาษ
กระดาษอิเล็กทรอนิกส์รุ่นแรกๆ แบบหนึ่งประกอบด้วยแผ่นแคปซูลโปร่งแสงขนาดเล็กมาก แต่ละแผ่นมีขนาดประมาณ 40 ไมโครเมตร แต่ละแคปซูลประกอบด้วยสารละลายเหมือนน้ำมัน มีสีย้อมสีดำ (หมึกอิเล็กทรอนิกส์) และมีอนุภาคไทเทเนียมไอออกไซด์สีขาวจำนวนมากแขวนลอยอยู่ภายใน อนุภาคเหล่านี้มีประจุไฟฟ้าลบไม่สูงนัก และแต่ละอนุภาคก็มีสีขาวโดยธรรมชาติ
แคปซูลขนาดเล็กที่เรียกว่าไมโครแคปซูลนี้ถูกยึดไว้ในชั้นผิวของพอลิเมอร์เหลว ประกบอยู่ระหว่างขั้วไฟฟ้าสองชุด ด้านบนทำด้วยอินเดียมทินออกไซด์ (ITO) เป็นโลหะนำไฟฟ้าโปร่งแสง
มีสองอาเรย์ที่ถูกเรียงทำทำให้แผ่นแคปซูลถูกแบ่งเป็นพิกเซล ซึ่งแต่ละพิกเซลจะสอดคล้องกับคู่อิเล็กโตรดที่อิ่มตัวทั้งสองด้านของแผ่น แผ่นดังกล่าวถูกเคลือบด้วยพลาสติกโปร่งแสงเพื่อป้องกันความเสียหาย ทำให้มีความหนารูปไข่ 80 ไมโครเมตร หรือสองเท่าของกระดาษธรรมดา
โครงข่ายของอิเล็กโตรดจะถูกเชื่อมต่อเข้ากับวงจรแสดงผล ซึ่งเปลี่ยนหมึกอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็น เปิด และ ปิด ที่พิกเซลหนึ่งๆ โดยการจ่ายแรงดันไฟฟ้าไปยังคู่อิเล็กโตรดนั้นๆ การจ่ายประจุลบไปยังอิเล็กโตรดที่พื้นผิว จะผลักอนุภาคไปยังด้านล่างสุดของแคปซูลนั้นๆ เป็นการผลักสีย้อมดำไปยังพื้นผิว และทำให้เซลล์ภาพนั้นปรากฏเป็นสีดำ เมื่อมีการแปลงสลับแรงดันไฟฟ้า ก็มีผลตรงกันข้าม คือทำให้อนุภาคถูกขับจากพื้นผิว ทำให้เซลล์ภาพปรากฏเป็นสีขาว
เมื่อเร็วๆ นี้มีการใช้อิเล็กโตรดชั้นเดียวใต้ไมโครแคปซูล ซึ่งนับว่าลดความยุ่งยากลงได้เป็นอย่างมาก
[แก้] กระดาษสี หรือโพลีโครมกระดาษอีเปเปอร์แบบสีอย่างง่าย ประกอบด้วยฟิลเตอร์เสริมเป็นสี ขนาดบาง เพิ่มเข้าไปยังเทคโนโลยีโมโนโครม (กระดาษสีเดียว หรือขาวดำ) ที่กล่าวมาข้างต้น อาร์เรย์ของพิกเซลนั้นแบ่งเป็นแม่สี ซึ่งปกติประกอบด้วยสีแดง เขียว และน้ำเงินมาตรฐาน ในลักษณะเดียวกับมอนิเตอร์แบบ CRT จอแบบนี้จะถูกควบคุมคล้ายกับจอแสดงผลภาพสีแบบอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
[แก้] การประยุกต์ใช้มีแนวทางการใช้กระดาษอิเล็กทรอนิกส์นี้มากมายหลายอย่าง โดยใช้ร่วมกับเทคโนโลยีที่กำลังพัฒนาร่วมของบริษัทต่างๆ ที่มีความสนใจและชำนาญในสาขานี้ เทคโนโลยีด้านอื่นๆ ที่ถูกประยุกต์เข้ากับกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ได้แก่ การปรับปรุงจอแสดงผลแบบผลึกเหลว (liquid crystal display : LCD), จอแสดงผลอิเล็กโตรโครมิก (electrochromic display) และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ จาก Etch-A-Sketch ที่มหาวิทยาลัยคิวชู ประเทศญี่ปุ่น
Gyricon ได้พัฒนากระดาษอิเล็กทรอนิกส์อีกแบบหนึ่ง ร่วมกับ Philips Electronics, Kent Displays (จอแสดงผลคอเลสเตอริก), Nemoptic (เทคโนโลยี bistable nematic - BiNem), NTERA (จอแสดงผล electrochromic NanoChromics), E Ink และ SiPix Imaging (electrophoretic) และอื่นๆ อีกมาก
[แก้] การประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์E Ink Corporation ได้ร่วมงานกับบริษัทต่างๆ เช่น Phillips และ Sony เพื่อพัฒนาการประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ ทั้งยังประกาศเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ.2005 ว่า จะเริ่มจัดส่ง shipping developer kits เป็นกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ ความละเอียด 800 x 600 ขนาด 6 นิ้ว ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2005 และวันที่ 14 – 15 กรกฎาคม ค.ศ.2005 Fujitsu ได้แสดงกระดาษอิเล็กทรอนิกส์ที่ตนร่วมพัฒนา ที่ Tokyo International Forum โดยมีการใช้กำลังไฟต่ำ และไม่ต้องการไฟฟ้า เว้นแต่ในช่วงการเปลี่ยนภาพบนจอเท่านั้น ทำให้กระดาษเล็กทรอนิกส์เหมาะสมเป็นพิเศษ สำหรับเป็นแผ่นป้ายโฆษณา หรือป้ายแจ้งข่าวสารในสถานที่สาธารณะ แทนที่กระดาษที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ในประเทศจีนให้ความสำคัญของเทคโนโลยีนี้ ด้วยจัดเป็นวิสาหกิจ กระดาษอิเล็กทรอนิกส์ iRex
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) . 2545. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.srithai.com/
E-mail เป็นบริการในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สำคัญที่มีผู้นิยมใช้บริการกันมากที่สุด
สามารถส่งตัวอักษร ข้อความ แฟ้มข้อมูล ภาพ เสียง ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังผู้รับ อาจจะเป็น
คนเดียวหรือกลุ่มคนโดยทั้งที่ ผู้ส่งและผู้รับเป็นผู้ใช้ที่อยู่ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เดียวกัน ช่วยให้
สามารถติดต่อสื่อสาร ระหว่าง กันได้ทั่วโลก มีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถสื่อสารถึงกันได้ตลอดเวลา
โดยไม่ต้องคำนึงถึงว่าผู้รับจะอยู่ที่ไหน จะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่หรือไม่ เพราะไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
จะเก็บข้อความเหล่านั้นไว้ เมื่อผู้รับเข้าสู่ระบบเครือข่ายเขาก็จะเห็นข้อความนั้นรออยู่แล้ว ความสะดวกเหล่านี้ทำให้นักวิชาการ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารถึงกันและกัน นักศึกษาสามารถปรึกษา หรือฝึกฝนทักษะกับ
อาจารย์ หรือ เพื่อน นักศึกษาด้วยกันเอง โดยไม่ต้องคำนึงถึงเวลา และระยะทาง โดยผู้ใช้สามารถติดต่อ
สื่อสารกันได้ไม่ว่าจะอยู่ตรงส่วนใด ของมุมโลก ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อประเภทหนึ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้ และช่วยขจัด ปัญหาในเรื่อง ของเวลา และระยะทาง ผู้เรียนจะรู้สึกอิสระและกล้าแสดงออกมากกว่าปกติ ตลอดจนสามารถเข้าถึงผู้เรียน เป็นราย บุคคลได้เป็นอย่างดี ในยุคสารสนเทศดังเช่นปัจจุบัน ระบบการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพจะมีบทบาทสำคัญ ในการพัฒนา สังคมให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้อย่างรวดเร็ว ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ทันสมัย รูปแบบหนึ่ง ที่มีความ สำคัญ คือ 1. ทำให้การให้การติดต่อสื่อสารทั่วโลกเป็นไปอย่างรวดเร็วทันที ระยะทางไม่เป็นอุปสรรค 2.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับที่ต้องการได้ทุกเวลา แม้ผู้รับจะไม่ได้อยู่ที่ หน้าจอคอมพิวเตอร์ก็ตาม 3. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับหลาย ๆ คนได้ในเวลาเดียวกัน โดยไม่ต้องเสียเวลา ส่งให้ทีละคน กรณีนี้จะใช้กับจดหมายที่เป็นข้อความเดียวกัน 4. การส่งจดหมายทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทางไปส่ง จดหมายถึงตู้ไปรษณีย์ หรือที่ทำการไปรษณีย์ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง
5. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น ผู้รับจดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก
โปรแกรมของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์จะแสดงให้ทราบว่าในตู้จดหมายของผู้รับมีจดหมายกี่ฉบับ มีจดหมายที่อ่านแล้ว และยังไม่ได้เรียกอ่านกี่ฉบับ เมื่ออ่านจดหมายฉบับใดแล้ว หากต้องการลบทิ้งก็สามารถเก็บข้อความ ไว้ในรูปของแฟ้มข้อมูลได้ หรือจะพิมพ์ออกมาลงกระดาษก็ได้เช่นกัน หรืออาจแก้ไข้ข้อความบางอย่างในจดหมายนั้น จากจอภาพแล้วส่งต่อไปยังผู้อื่นได้ด้วย 6. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถที่จะถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล แนบไปกับจดหมายถึงผู้รับได้ 7. ทำให้การแลกเปลี่ยนข่าวสารเป็นไปได้โดยสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา และทันเหตุการณ์ จากความสำคัญของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถอำนวยประโยชน์ให้กับผู้ใช้อย่างคุ้มค่า
ทำให้ในปัจจุบันไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แทบจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของสำนักงานทุกแห่งทั่วโลก และในที่สุด
เมื่อทุก บ้านมีคอมพิวเตอร์ใช้ สมาชิกในชุมชนโลก ก็จะสามารถติดต่อกันผ่านทางคอมพิวเตอร์ การทำงาน
ตามสำนักงาน หรือสถานที่ต่างๆ จะถูกเปลี่ยนไปสู่การทำงานที่บ้านมากขึ้นโดยการรับส่งงาน
ทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถสร้างฟอร์ม e-mail ไว้ให้เพื่อความสะดวกในการส่งข้อมูล
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail or E-mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือเรียกย่อๆ ว่า E - Mail เป็นวิธีการติดต่อสื่อสารกันบน Internet ที่เป็นมาตรฐาน และเก่าแก่ที่สุด โดยที่สามารถจะส่งเอกสารที่เป็นข้อความธรรมดา จนถึงการส่งเอกสาร แบบมัลติมิเดีย มีทั้งภาพและเสียง ไปรอบโลก ในการให้บริการแบบนี้ ผู้ที่ต้องการส่ง และรับจดหมาย อีเล็กทรอนิกส์ จะต้องมีบัญชีการใช้บริการที่แน่นอน ซึ่งเรียกว่า E-Mail Address คล้ายๆ กับชื่อ-นามสกุล และที่อยู่นั่นเอง
สามารถแบ่งการใช้อีเมล์ตามลักษณะของการให้บริการได้กว้างๆ 3 ลักษณะคือ
• อีเมล์สำนักงาน – เป็นบัญชีการใช้บริการรับ/ส่งอีเมล์ที่หน่วยงาน หรือสำนักงานของผู้ใช้เป็นผู้จัดทำและให้บริการ มีจุดเด่นคือ บ่งชี้ถึงหน่วยงานสังกัดของผู้ใช้ เช่น อีเมล์ของบุคลากรในเนคเทค จะอยู่ในรูปของ ชื่อบุคคล @nectec.or.th ทำให้ทราบได้ทันทีว่าบุคคลนั้นๆ อยู่ในหน่วยงานใด
• อีเมล์โดย ISP – ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหลายท่าน คงไม่มีอีเมล์ที่จัดให้บริการโดยสำนักงาน เนื่องจากความไม่พร้อมของสำนักงานหรือหน่วยงานที่ต้นสังกัด ทางเลือกที่น่าสนใจก็คือ เมื่อผู้ใช้สมัครเป็นสมาชิกอินเทอร์เน็ตจาก ISP ส่วนมาก ISP ก็จะให้บริการอีเมล์ด้วยเสมอ ดังนั้นผู้ใช้จึงสามารถมีอีเมล์ที่ให้บริการโดย ISP เพื่อใช้งานได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามอีเมล์แบบนี้ มักจะมีจุดอ่อน คือ
ไม่บ่งชี้สถานภาพของบุคคล หรือหน่วยงาน
อายุการใช้บริการไม่ยาวนาน โดยผู้ใช้อินเทอร์เน็ต มักจะซื้อบริการที่ถูกที่สุด ดังนั้นเมื่อหมดอายุกับ ISP รายหนึ่ง ก็อาจจะเปลี่ยนเป็นอีกราย (ที่ราคาถูกกว่า) ทำให้อีเมล์เดิมถูกยกเลิกไปทันที ซึ่งเป็นภาระในการติดต่อสื่อสารได้
อีเมล์ที่ให้บริการฟรีทั่วไป – หน่วยงานหรือเว็บไซต์หลายเว็บไซต์ ให้บริการบัญชีอีเมล์ฟรีสำหรับผู้สนใจทั่วไป ดังนั้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนมาก จึงเลือกใช้อีเมล์ลักษณะนี้ เนื่องจากสมัครได้ง่าย ฟรี และใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา
รูปแบบของ e-Mail Address
บัญชีชื่อ @ โดเมนเนมของหน่วยงานหรือผู้ให้บริการ
เช่น นายสมชาย เป็นพนักงานของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ดังนั้น e-Mail Address ที่สามารถเป็นไปได้ของนายสมชาย คือ somchai@nectec.or.th (ข้อมูลสมมติ)
นายวินัย เป็นพนักงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดังนั้น e-Mail Address ที่สามารถเป็นไปได้ของนายวินัย คือ vinai@ku.ac.th
การแจ้งอีเมล์ให้กับผู้อื่น มีข้อควรระวังดังนี้
ระบุตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็กให้ชัดเจน เพราะระบบอินเทอร์เน็ต มักจะถือว่าตัวอักษรตัวใหญ่และตัวเล็ก เป็นคนละตัวกัน เช่น Vinai ไม่เหมือนกับ vinai เป็นต้น
จะต้องระบุให้ครบทั้งชื่อบัญชี เครื่องหมาย @ และโดเมนเนม
อินเตอร์เน็ตคืออะไร
อินเตอร์เน็ต (Internet) คงจะเป็นคำที่คนแทบทุกคนทั่วโลกรู้จักคุ้นเคยกันดี แต่ก็ไม่อาจทราบชัดเจนว่าอินเตอร์เน็ตคืออะไรกันแน่ และมีอิทธิพลต่อชีวิตเราในโลกอย่างไร
อินเตอร์เน็ต คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ประกอบไปด้วยเครือข่ายย่อย ๆ จำนวนมากต่อเชื่อมเข้าด้วยกันจนมีเครือข่ายที่มีขนาดมหึมาเพื่อประโยชน์ ในการสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ โดยผ่านผู้ให้บริการกับเครือข่ายทั่วโลก
อินเตอร์เน็ต เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลข่าวสารขนาดใหญ่ที่คลอบคลุมเนื้อหาแทบทุกบริษัท และเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้เครือข่ายได้ค้นดว้าข้อมูลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถท่องเที่ยวไปในซุปเปอร์ไฮเวย์อิเล็กทรอนิคส์ (Electronic Super Highway) ไปยังต่างประเทศแบบออนไลน์ด้วยระยะเวลาอันสั้น
บริการอินเตอร์เน็ต บริการอินเตอร์เน็ตสามารถแบ่งออกได้หลายชนิด ได้แก่
· ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรือ E-Mail) คือไปรษณีย์ที่ส่งผ่านกันภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ช่วยให้ติดต่อกับบุคคลอื่นได้อย่างรวดเร็ว เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุด เมื่อเทียบกับโปรแกรมอื่น ๆ ในอินเตอร์เน็ต สำหรับการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในระบบ Unix มีโปรแกรมที่ใช้ส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์อยู่หลายโปรแกรม อาทิเช่น Mail, Pine เป็นต้น ในระบบปฏิบัติการ Windows ได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้งานกับไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นแบบ GUI : Graphic User Interface ซึ่งสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น โปรแกรม Internet mail ของ Microsoft Internet Explorer หรือโปรแกรม Internet mail ของ Netscape เป็นต้น
· การขอใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ (Telnet) คือการขอเข้าใช้ระบบจากระยะไกล ผู้ใช้สามารถเข้าไปใช้บริการจากเครื่องใดในเครือข่ายที่ได้รับอนุญาตโดยไม่ต้องนั่งอยู่หน้าเครื่องนั้นโดยตรง การขอใช้บริการแบบนี้ผ้ใช้จะป้อนคำสั่งผ่านคอมพิวเตอร์ของตัวเองไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง แล้วจึงแสดงผลลัพธ์กลับมาที่แสดงที่หน้าจอ โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางสามารถใช้โปรแกรม telnet ได้โดยไม่ต้องมีบัญชีชื่อผู้ใช้ เช่นการค้นหาโฮสต์ที่ทำหน้าที่เก็บแฟ้มข้อมูลด้วยโปรแกรม Archie และบริการ Gopher เป็นต้น
· บริการขนถ่ายแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ (File Transfer Protocol หรือ FTP) คือการโอนย้ายแฟ้มข้อมูล เป็นบริการสำคัญอย่างหนึ่งในอินเตอร์เน็ต โดยปรกติแล้วผู้ที่สามารถถ่าย โอนย้ายแฟ้มข้อมูลได้นั้น จะต้องมีบัญชีชื่อผู้ใช้บนโฮสต์นั้นๆ แต่เครือข่ายหลายแห่งได้เปิดให้บริการสาธารณะให้แก่บุคคลภายนอก สามารถถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูลด้วยชื่อบัญชี "anonymous" โดยไม่ต้องมีการป้อนรหัสผ่านข้อมูล หรือแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถขอถ่ายโอนย้ายได้นั้นมีอยู่มากมาย เช่น บทความข้อมูลทางสถิติ ผลการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ และสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของผู้ใช้บริการ คือซอฟต์แวร์จำนวนมากที่ทำงานบนระบบต่าง ๆ เช่นระบบวินโดวส์ ดอส ยูนิกซ์ หรือแมคอินทอช
· Archie คือระบบค้นแหล่งที่อยู่ข้อมูล เป็นระบบที่ช่วยค้นหาที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลบนโฮสต์สาธารณะ เมื่อต้องการค้นว่าแฟ้มข้อมูลที่สนใจอยู่ที่โฮสต์ใด ให้เรียกใช้ Archie แล้วป้อนคำสั่งค้นชื่อแฟ้มข้อมูล โปรแกรมจะตรวจค้นหาแฟ้มข้อมูล พร้อมกับแสดงชื่อแฟ้มและชื่อโฮสต์ที่เก็บข้อมูล เมื่อผู้ใช้ทราบชื่อแล้วก็สามารถใช้ FTP เพื่อถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูลต่อไป
· Gopher เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเปิดค้นหาข้อมูลและขอใช้บริการด้วยระบบเมนูและเป็นจุดศูนย์รวมในการเรียกใช้บริการต่าง ๆ ที่มีอยู่ในอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีทั้ง Telnet โอนย้ายแฟ้มข้อมูลด้วย FTP หรือค้นหาชื่อโฮสต์ที่เก็บแฟ้มข้อมูลด้วย Archie บริการเหล่านี้ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้เป็นอย่างมาก เนื่องจากไม่ต้องพิมพ์คำสั่ง และไม่จำเป็นต้องจดจำชื่อโฮสต์ที่ต้องการติดต่อ เพราะสามารถเลือกได้จากเมนู Gopher จึงเป็นเสมือนเส้นทางและอุโมงค์ลัดเลาะไปสู่ยริากรในอินเตอร์เน็ตได้ทั่วโลก
· กลุ่มข่าว (UseNet) เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มการสนทนาและอภิปรายในหัวข้อต่าง ๆ ผ่านทางระบบกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์แบบเดียวกันกับบูลเลตินบอร์ด (Bulletin Board System) แต่ละกลุ่มข่าวใน Usenet มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็นในหัวข้อตามที่กลุ่มนั้นสนใจ ตั้งแต่เรื่องทางเทคนิค วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ กีฬา ศาสนา ปรัชญา และหัวข้ออื่น ๆ อีกมากมาย
· Wide Areas Information Server (WAIS) ดัชนีบอกแหล่งข้อมูล (อ่านว่า เวยส์) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลในรูปทที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่อยู่ในแฟ้มนั้น ในขณะที่ Archie จะค้นชื่อของแฟ้มที่ต้องการค้นหาซึ่งต่างกับ WAIS ลักษณะของ WAIS เป็นการเชื่อมโยงศูนย์ข้อมูลที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้าไว้ด้วยกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการค้นหาข้อมูลข่าวสาร เนื่องจากว่าในอินเตอร์เน็ตมีฐานข้อมูลอยู่หลายแห่งกระจัดกระจาย การค้นข้อมูลโดยแยกไปค้นตามข้อมูลต่าง ๆ ย่อมไม่สะดวกแก่ผู้ใช้ การทำงานของ WAIS จะทำให้ผู้ใช้มองเห็นเหมือนกับว่ามีฐานข้อมูลเพียงแห่งเดียว และเมื่อต้องการค้นหาข้อมูล คอมพิวเตอร์อาจจะช่วยค้นไปยังแหล่งข้อมูลที่ต่างๆ ที่เชื่อมต่อกันอยู่
World Wide Web (WWW) เป็นบริการข้อมูลแบบมัลติมีเดีย (Multi-media) บนอินเตอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน จุดเด่นของ WWW ได้แก่ความง่ายต่อการใช้งาน และมีรูปแบบการแสดงผลแบบ (Hyper Text) ที่เชื่อมโยงจากข้อมูลชุดหนึ่งไปยังข้อมูลอีกชุดหนึ่งได้ ซึ่งอาจอยู่ในศูนย์บริการข้อมูลเดียวกันหรือต่างศูนย์กัน บริการ www จึงเป็นเสมือนเครือข่ายที่โยงใยข้อมูลทั่วโลกเข้าหากัน เมื่อใช้งานศูนย์บริการแห่งหนึ่งแล้วผู้ใช้สามารถต่อเชื่อมเพื่อค้นข้อมูลที่ศูนย์อื่น ๆ ได้ ข้อมูลใน www มีทั้งข้อความปรกติ หรือแบบมัลติมีเดีย ที่ประกอบด้วยเสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว www ยังได้ผนวกบริการอินเตอร์เน็ตอื่นไว้ภายใน เช่น การโอนย้ายแฟ้มด้วย Gopher หรือ Usenet
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) . 2545. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.srithai.com/
E-mail เป็นบริการในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สำคัญที่มีผู้นิยมใช้บริการกันมากที่สุด
สามารถส่งตัวอักษร ข้อความ แฟ้มข้อมูล ภาพ เสียง ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังผู้รับ อาจจะเป็น
คนเดียวหรือกลุ่มคนโดยทั้งที่ ผู้ส่งและผู้รับเป็นผู้ใช้ที่อยู่ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เดียวกัน ช่วยให้
สามารถติดต่อสื่อสาร ระหว่าง กันได้ทั่วโลก มีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถสื่อสารถึงกันได้ตลอดเวลา
โดยไม่ต้องคำนึงถึงว่าผู้รับจะอยู่ที่ไหน จะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่หรือไม่ เพราะไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
จะเก็บข้อความเหล่านั้นไว้ เมื่อผู้รับเข้าสู่ระบบเครือข่ายเขาก็จะเห็นข้อความนั้นรออยู่แล้ว ความสะดวกเหล่านี้ทำให้นักวิชาการ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารถึงกันและกัน นักศึกษาสามารถปรึกษา หรือฝึกฝนทักษะกับ
อาจารย์ หรือ เพื่อน นักศึกษาด้วยกันเอง โดยไม่ต้องคำนึงถึงเวลา และระยะทาง โดยผู้ใช้สามารถติดต่อ
สื่อสารกันได้ไม่ว่าจะอยู่ตรงส่วนใด ของมุมโลก ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อประเภทหนึ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้ และช่วยขจัด ปัญหาในเรื่อง ของเวลา และระยะทาง ผู้เรียนจะรู้สึกอิสระและกล้าแสดงออกมากกว่าปกติ ตลอดจนสามารถเข้าถึงผู้เรียน เป็นราย บุคคลได้เป็นอย่างดี ในยุคสารสนเทศดังเช่นปัจจุบัน ระบบการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพจะมีบทบาทสำคัญ ในการพัฒนา สังคมให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้อย่างรวดเร็ว ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ทันสมัย รูปแบบหนึ่ง ที่มีความ สำคัญ คือ 1. ทำให้การให้การติดต่อสื่อสารทั่วโลกเป็นไปอย่างรวดเร็วทันที ระยะทางไม่เป็นอุปสรรค 2.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับที่ต้องการได้ทุกเวลา แม้ผู้รับจะไม่ได้อยู่ที่ หน้าจอคอมพิวเตอร์ก็ตาม 3. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับหลาย ๆ คนได้ในเวลาเดียวกัน โดยไม่ต้องเสียเวลา ส่งให้ทีละคน กรณีนี้จะใช้กับจดหมายที่เป็นข้อความเดียวกัน 4. การส่งจดหมายทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทางไปส่ง จดหมายถึงตู้ไปรษณีย์ หรือที่ทำการไปรษณีย์ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง
5. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น ผู้รับจดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก
โปรแกรมของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์จะแสดงให้ทราบว่าในตู้จดหมายของผู้รับมีจดหมายกี่ฉบับ มีจดหมายที่อ่านแล้ว และยังไม่ได้เรียกอ่านกี่ฉบับ เมื่ออ่านจดหมายฉบับใดแล้ว หากต้องการลบทิ้งก็สามารถเก็บข้อความ ไว้ในรูปของแฟ้มข้อมูลได้ หรือจะพิมพ์ออกมาลงกระดาษก็ได้เช่นกัน หรืออาจแก้ไข้ข้อความบางอย่างในจดหมายนั้น จากจอภาพแล้วส่งต่อไปยังผู้อื่นได้ด้วย 6. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถที่จะถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล แนบไปกับจดหมายถึงผู้รับได้ 7. ทำให้การแลกเปลี่ยนข่าวสารเป็นไปได้โดยสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา และทันเหตุการณ์ จากความสำคัญของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถอำนวยประโยชน์ให้กับผู้ใช้อย่างคุ้มค่า
ทำให้ในปัจจุบันไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แทบจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของสำนักงานทุกแห่งทั่วโลก และในที่สุด
เมื่อทุก บ้านมีคอมพิวเตอร์ใช้ สมาชิกในชุมชนโลก ก็จะสามารถติดต่อกันผ่านทางคอมพิวเตอร์ การทำงาน
ตามสำนักงาน หรือสถานที่ต่างๆ จะถูกเปลี่ยนไปสู่การทำงานที่บ้านมากขึ้นโดยการรับส่งงาน
ทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถสร้างฟอร์ม e-mail ไว้ให้เพื่อความสะดวกในการส่งข้อมูล
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail or E-mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือเรียกย่อๆ ว่า E - Mail เป็นวิธีการติดต่อสื่อสารกันบน Internet ที่เป็นมาตรฐาน และเก่าแก่ที่สุด โดยที่สามารถจะส่งเอกสารที่เป็นข้อความธรรมดา จนถึงการส่งเอกสาร แบบมัลติมิเดีย มีทั้งภาพและเสียง ไปรอบโลก ในการให้บริการแบบนี้ ผู้ที่ต้องการส่ง และรับจดหมาย อีเล็กทรอนิกส์ จะต้องมีบัญชีการใช้บริการที่แน่นอน ซึ่งเรียกว่า E-Mail Address คล้ายๆ กับชื่อ-นามสกุล และที่อยู่นั่นเอง
สามารถแบ่งการใช้อีเมล์ตามลักษณะของการให้บริการได้กว้างๆ 3 ลักษณะคือ
• อีเมล์สำนักงาน – เป็นบัญชีการใช้บริการรับ/ส่งอีเมล์ที่หน่วยงาน หรือสำนักงานของผู้ใช้เป็นผู้จัดทำและให้บริการ มีจุดเด่นคือ บ่งชี้ถึงหน่วยงานสังกัดของผู้ใช้ เช่น อีเมล์ของบุคลากรในเนคเทค จะอยู่ในรูปของ ชื่อบุคคล @nectec.or.th ทำให้ทราบได้ทันทีว่าบุคคลนั้นๆ อยู่ในหน่วยงานใด
• อีเมล์โดย ISP – ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหลายท่าน คงไม่มีอีเมล์ที่จัดให้บริการโดยสำนักงาน เนื่องจากความไม่พร้อมของสำนักงานหรือหน่วยงานที่ต้นสังกัด ทางเลือกที่น่าสนใจก็คือ เมื่อผู้ใช้สมัครเป็นสมาชิกอินเทอร์เน็ตจาก ISP ส่วนมาก ISP ก็จะให้บริการอีเมล์ด้วยเสมอ ดังนั้นผู้ใช้จึงสามารถมีอีเมล์ที่ให้บริการโดย ISP เพื่อใช้งานได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามอีเมล์แบบนี้ มักจะมีจุดอ่อน คือ
ไม่บ่งชี้สถานภาพของบุคคล หรือหน่วยงาน
อายุการใช้บริการไม่ยาวนาน โดยผู้ใช้อินเทอร์เน็ต มักจะซื้อบริการที่ถูกที่สุด ดังนั้นเมื่อหมดอายุกับ ISP รายหนึ่ง ก็อาจจะเปลี่ยนเป็นอีกราย (ที่ราคาถูกกว่า) ทำให้อีเมล์เดิมถูกยกเลิกไปทันที ซึ่งเป็นภาระในการติดต่อสื่อสารได้
อีเมล์ที่ให้บริการฟรีทั่วไป – หน่วยงานหรือเว็บไซต์หลายเว็บไซต์ ให้บริการบัญชีอีเมล์ฟรีสำหรับผู้สนใจทั่วไป ดังนั้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนมาก จึงเลือกใช้อีเมล์ลักษณะนี้ เนื่องจากสมัครได้ง่าย ฟรี และใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา
รูปแบบของ e-Mail Address
บัญชีชื่อ @ โดเมนเนมของหน่วยงานหรือผู้ให้บริการ
เช่น นายสมชาย เป็นพนักงานของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ดังนั้น e-Mail Address ที่สามารถเป็นไปได้ของนายสมชาย คือ somchai@nectec.or.th (ข้อมูลสมมติ)
นายวินัย เป็นพนักงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดังนั้น e-Mail Address ที่สามารถเป็นไปได้ของนายวินัย คือ vinai@ku.ac.th
การแจ้งอีเมล์ให้กับผู้อื่น มีข้อควรระวังดังนี้
ระบุตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็กให้ชัดเจน เพราะระบบอินเทอร์เน็ต มักจะถือว่าตัวอักษรตัวใหญ่และตัวเล็ก เป็นคนละตัวกัน เช่น Vinai ไม่เหมือนกับ vinai เป็นต้น
จะต้องระบุให้ครบทั้งชื่อบัญชี เครื่องหมาย @ และโดเมนเนม
อินเตอร์เน็ตคืออะไร
อินเตอร์เน็ต (Internet) คงจะเป็นคำที่คนแทบทุกคนทั่วโลกรู้จักคุ้นเคยกันดี แต่ก็ไม่อาจทราบชัดเจนว่าอินเตอร์เน็ตคืออะไรกันแน่ และมีอิทธิพลต่อชีวิตเราในโลกอย่างไร
อินเตอร์เน็ต คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ประกอบไปด้วยเครือข่ายย่อย ๆ จำนวนมากต่อเชื่อมเข้าด้วยกันจนมีเครือข่ายที่มีขนาดมหึมาเพื่อประโยชน์ ในการสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ โดยผ่านผู้ให้บริการกับเครือข่ายทั่วโลก
อินเตอร์เน็ต เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลข่าวสารขนาดใหญ่ที่คลอบคลุมเนื้อหาแทบทุกบริษัท และเอื้ออำนวยให้ผู้ใช้เครือข่ายได้ค้นดว้าข้อมูลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถท่องเที่ยวไปในซุปเปอร์ไฮเวย์อิเล็กทรอนิคส์ (Electronic Super Highway) ไปยังต่างประเทศแบบออนไลน์ด้วยระยะเวลาอันสั้น
บริการอินเตอร์เน็ต บริการอินเตอร์เน็ตสามารถแบ่งออกได้หลายชนิด ได้แก่
· ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรือ E-Mail) คือไปรษณีย์ที่ส่งผ่านกันภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ช่วยให้ติดต่อกับบุคคลอื่นได้อย่างรวดเร็ว เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุด เมื่อเทียบกับโปรแกรมอื่น ๆ ในอินเตอร์เน็ต สำหรับการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในระบบ Unix มีโปรแกรมที่ใช้ส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์อยู่หลายโปรแกรม อาทิเช่น Mail, Pine เป็นต้น ในระบบปฏิบัติการ Windows ได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้งานกับไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นแบบ GUI : Graphic User Interface ซึ่งสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น โปรแกรม Internet mail ของ Microsoft Internet Explorer หรือโปรแกรม Internet mail ของ Netscape เป็นต้น
· การขอใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ (Telnet) คือการขอเข้าใช้ระบบจากระยะไกล ผู้ใช้สามารถเข้าไปใช้บริการจากเครื่องใดในเครือข่ายที่ได้รับอนุญาตโดยไม่ต้องนั่งอยู่หน้าเครื่องนั้นโดยตรง การขอใช้บริการแบบนี้ผ้ใช้จะป้อนคำสั่งผ่านคอมพิวเตอร์ของตัวเองไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง แล้วจึงแสดงผลลัพธ์กลับมาที่แสดงที่หน้าจอ โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางสามารถใช้โปรแกรม telnet ได้โดยไม่ต้องมีบัญชีชื่อผู้ใช้ เช่นการค้นหาโฮสต์ที่ทำหน้าที่เก็บแฟ้มข้อมูลด้วยโปรแกรม Archie และบริการ Gopher เป็นต้น
· บริการขนถ่ายแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ (File Transfer Protocol หรือ FTP) คือการโอนย้ายแฟ้มข้อมูล เป็นบริการสำคัญอย่างหนึ่งในอินเตอร์เน็ต โดยปรกติแล้วผู้ที่สามารถถ่าย โอนย้ายแฟ้มข้อมูลได้นั้น จะต้องมีบัญชีชื่อผู้ใช้บนโฮสต์นั้นๆ แต่เครือข่ายหลายแห่งได้เปิดให้บริการสาธารณะให้แก่บุคคลภายนอก สามารถถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูลด้วยชื่อบัญชี "anonymous" โดยไม่ต้องมีการป้อนรหัสผ่านข้อมูล หรือแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถขอถ่ายโอนย้ายได้นั้นมีอยู่มากมาย เช่น บทความข้อมูลทางสถิติ ผลการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ และสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของผู้ใช้บริการ คือซอฟต์แวร์จำนวนมากที่ทำงานบนระบบต่าง ๆ เช่นระบบวินโดวส์ ดอส ยูนิกซ์ หรือแมคอินทอช
· Archie คือระบบค้นแหล่งที่อยู่ข้อมูล เป็นระบบที่ช่วยค้นหาที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลบนโฮสต์สาธารณะ เมื่อต้องการค้นว่าแฟ้มข้อมูลที่สนใจอยู่ที่โฮสต์ใด ให้เรียกใช้ Archie แล้วป้อนคำสั่งค้นชื่อแฟ้มข้อมูล โปรแกรมจะตรวจค้นหาแฟ้มข้อมูล พร้อมกับแสดงชื่อแฟ้มและชื่อโฮสต์ที่เก็บข้อมูล เมื่อผู้ใช้ทราบชื่อแล้วก็สามารถใช้ FTP เพื่อถ่ายโอนย้ายแฟ้มข้อมูลต่อไป
· Gopher เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเปิดค้นหาข้อมูลและขอใช้บริการด้วยระบบเมนูและเป็นจุดศูนย์รวมในการเรียกใช้บริการต่าง ๆ ที่มีอยู่ในอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีทั้ง Telnet โอนย้ายแฟ้มข้อมูลด้วย FTP หรือค้นหาชื่อโฮสต์ที่เก็บแฟ้มข้อมูลด้วย Archie บริการเหล่านี้ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้เป็นอย่างมาก เนื่องจากไม่ต้องพิมพ์คำสั่ง และไม่จำเป็นต้องจดจำชื่อโฮสต์ที่ต้องการติดต่อ เพราะสามารถเลือกได้จากเมนู Gopher จึงเป็นเสมือนเส้นทางและอุโมงค์ลัดเลาะไปสู่ยริากรในอินเตอร์เน็ตได้ทั่วโลก
· กลุ่มข่าว (UseNet) เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มการสนทนาและอภิปรายในหัวข้อต่าง ๆ ผ่านทางระบบกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์แบบเดียวกันกับบูลเลตินบอร์ด (Bulletin Board System) แต่ละกลุ่มข่าวใน Usenet มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็นในหัวข้อตามที่กลุ่มนั้นสนใจ ตั้งแต่เรื่องทางเทคนิค วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ กีฬา ศาสนา ปรัชญา และหัวข้ออื่น ๆ อีกมากมาย
· Wide Areas Information Server (WAIS) ดัชนีบอกแหล่งข้อมูล (อ่านว่า เวยส์) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลในรูปทที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่อยู่ในแฟ้มนั้น ในขณะที่ Archie จะค้นชื่อของแฟ้มที่ต้องการค้นหาซึ่งต่างกับ WAIS ลักษณะของ WAIS เป็นการเชื่อมโยงศูนย์ข้อมูลที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้าไว้ด้วยกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการค้นหาข้อมูลข่าวสาร เนื่องจากว่าในอินเตอร์เน็ตมีฐานข้อมูลอยู่หลายแห่งกระจัดกระจาย การค้นข้อมูลโดยแยกไปค้นตามข้อมูลต่าง ๆ ย่อมไม่สะดวกแก่ผู้ใช้ การทำงานของ WAIS จะทำให้ผู้ใช้มองเห็นเหมือนกับว่ามีฐานข้อมูลเพียงแห่งเดียว และเมื่อต้องการค้นหาข้อมูล คอมพิวเตอร์อาจจะช่วยค้นไปยังแหล่งข้อมูลที่ต่างๆ ที่เชื่อมต่อกันอยู่
World Wide Web (WWW) เป็นบริการข้อมูลแบบมัลติมีเดีย (Multi-media) บนอินเตอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน จุดเด่นของ WWW ได้แก่ความง่ายต่อการใช้งาน และมีรูปแบบการแสดงผลแบบ (Hyper Text) ที่เชื่อมโยงจากข้อมูลชุดหนึ่งไปยังข้อมูลอีกชุดหนึ่งได้ ซึ่งอาจอยู่ในศูนย์บริการข้อมูลเดียวกันหรือต่างศูนย์กัน บริการ www จึงเป็นเสมือนเครือข่ายที่โยงใยข้อมูลทั่วโลกเข้าหากัน เมื่อใช้งานศูนย์บริการแห่งหนึ่งแล้วผู้ใช้สามารถต่อเชื่อมเพื่อค้นข้อมูลที่ศูนย์อื่น ๆ ได้ ข้อมูลใน www มีทั้งข้อความปรกติ หรือแบบมัลติมีเดีย ที่ประกอบด้วยเสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว www ยังได้ผนวกบริการอินเตอร์เน็ตอื่นไว้ภายใน เช่น การโอนย้ายแฟ้มด้วย Gopher หรือ Usenet
คำแนะนำในการใช้ google
Webmaster Guidelinesคำแนะนำสำหรับเว็บมาสเตอร์และผู้ดูแลเว็บไซต์ จาก Google
Google ขอแนะนำให้คุณปฎิบัติตามคำแนะนำเพื่อที่จะให้เรา ได้ค้นพบ อินเด็กซ์ และจัดอันดับเว็บไซต์ของคุณได้อย่างมีระสิทธิภาพ แม้ว่าคุณเลือกที่จะไม่ปฏิบัติตาม เรายังคงแนะนำให้คุณให้ความใส่ใจกับ Quality Guildeines (คำแนะนำสำคัญที่อย่างน้อยคุณต้องปฏิบัติตาม) ซึ่งจะระบุถึงข้อห้ามที่ไม่ควรกระทำเป็นอย่างยิ่ง มิฉะนั้นแล้วเว็บไซต์คุณจะถูกนำออกจากฐานข้อมูลของ Google ในที่สุด ซึ่งหากเว็บไซต์คุณถูกนำออกจากฐานข้อมูลของเราแล้ว นั่นหมายความว่า เว็บไซต์คุณจะไม่ปรากฏในผลลัพธ์การค้นหาของ Google และเว็บพันธมิตรของ Google แต่อย่างใด
Design and Content Guidelines คำแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบและเนื้อหาของเว็บไซต์คุณ
• ออกแบบเว็บไซต์ให้มีโครงสร้างที่ชัดเจน และ มีลิ๊งก์ นำทางไปยังทุกๆหน้าของเว็บเพจ
• ควรมี site map ที่ทำให้ผู้ชมสามารถไปยังหน้าที่ต้องการภายในเว็บไซต์คุณได้อย่างทั่วถึง
• ควรมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์กับผู้ชม และชัดเจน สะกดคำอย่างถูกต้อง
• คาดการณ์ถึง คำค้นหา ที่ผู้ชมอาจจะใช้ค้นหา และให้คำเหล่านั้นปรากฏอยู่ภายในเว็บไซต์ของคุณ
• ใช้ ข้อความ text แทน รูปภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชื่อสำคัญๆ เนื้อหา หรือ ลิงก์ เพราะ Google ไม่สามารถรู้ถึงข้อความที่ปรากฏอยู่ในรูปภาพได้
• ระบุ Title และ Alt text อย่างชัดเจน และถูกต้อง
• ตรวจสอบลิงก์เสียอย่างสม่ำเสมอ และแก้ไขให้ถฏต้อง
• หากคุณใช้ไดนามิกเพจ (URL ประกอบไปด้วย "?") โปรดระลึกไว้เสมอว่า search engine บางตัวเท่านั้นที่สามารถรับรู้ได้ ซึ่งเราคงแนะนำเว็บไซต์แบบ static มากกว่า
• คุณไม่ควรใส่ลิงก์จำนวนมากกว่า 100 ลิงก์ในหนึ่งหน้าเว็บเพจ
Technical Guidelines
• ใช้ text เบราเซอร์เช่น Lynx ตรวจสอบเว็บไซต์ของคุณ เพราะ search engine spider จำนวนมากตรวจสอบเว็บไซต์ที่เป็นข้อความเหมือน Lynx เสียเป็นส่วนใหญ่ หากคุณใช้ลูกเล่นเช่น JavaScript, cookies,session IDs, frames, DHTML, or Flash เป็นจำนวนมากอาจทำให้ spiderไม่สามารถตรวจสอบเว็บไซต์ของคุณได้อย่างทั่วถึง
• ออกแบบเว็บไซต์ให้ Search Bots (โปรแกรมที่ทำหน้าที่สำรวจเว็บไซต์ต่างๆนับล้านของ search engine แต่ละตัว) สำรวจเว็บไซต์คุณโดยปราศจากอุปสรรคอย่าง session IDs หรือ arguments ที่จะชี้นำ bots ไปยังหน้าที่คุณต้องการ เทคนิคเหล่านี้ดีสำหรับการตรวจสอบผู้ชมของคุณว่าไปหน้าเว็บเพจใดมาแล้วบ้าง แต่ไม่ดีกับ bots เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งหากคุณใช้เทคนิค session IDs หรือ arguments จะทำให้ search engine ไม่สามารถอินเด็กซ์เว็บไซต์คุณได้อย่างถูกต้อง
• แน่ใจว่าเว็บเซิฟเวอร์ของคุณสนุน If-Modified-Since HTTP header คุณสมบัตินี้จะทำให้เว็บเซิฟเวอร์ของคุณส่งข่าวถึง Google ว่าเนื้อหาภายในแต่ละเว็บเพจของคุณมีการเปลี่ยนแปลงไปแค่ไหน นับแต่ครั้งสุดท้ายที่ Google ทำการสำรวจ ซึ่งคุณสมบัตินี้ช่วยลดภาระด้าน bandwidth และoverhead ของเว็บเซิฟเวอร์คุณเป็นอย่างมาก
• ใช้ประโยชน์จาก robots.txt จากเว็บเซิฟเวอร์ของคุณ ไฟล์โรบอทนี้จะแจ้ง crawlers ว่าไดเรกทอรี่ใดสามารถทำการสำรวจได้ หรือ สำรวจไม่ได้ ตรวจสอบให้ถี่ถ้วนว่าเนื้อหาภายใน robots.txt นั้นไม่ได้ไปขัดขวางการสำรวจของ robots โดยไม่ได้ตั้งใจ (เขียนโค้ดผิด)
• งดการใช้ "&id=" เป็นพารามิเตอร์ ใน URLs ของคุณ เพราะ google จะไม่นำเว็บเพจที่มีพารามิเตอร์นี้มาไว้ในฐานข้อมูลของ Google
When your site is ready:เมื่อคุณพร้อม
• จงทำให้เว็บไซต์อื่นๆลิงก์มาที่เว็บไซต์คุณ ยิ่งมากยิ่งดี
• submit เว็บไซต์คุณเข้าสู่ ไดเรกทอรี่ต่างๆเช่น Open Directory หรือ Yahoo หรืออื่นๆ
Quality Guidelines: Basic principles (คำแนะนำพื้นฐาน)
• สร้างเว็บเพจ หรือ เว็บไซต์ สำหรับผู้ชม ไม่ใช่ search engines (ไม่ทำเว็บเพจใดๆขึ้นมาเพื่อให้มีอันดับการค้นหาที่ดีขึ้นใน search engine แต่เนื้อหานั้นไม่มีประโยชน์ใดๆต่อผู้ชมเว็บไซต์ของคุณเลย เทคนิคนี้เรียกว่า "Cloaking"
• หลีกเลี่ยงกลเม็ดวิธีใดๆที่จะทำให้เว็บไซต์คุณมีลำดับที่ดีขึ้นในผลลัพธ์การ ค้นหาของ Search engine จงถามตัวเองว่า การที่คุณใช้กลเม็ดใดๆเหล่านี้มีประโยชน์กับผู้ชมหรือไม่ ถ้ามี จงทำ แต่ถ้าทำเพื่อ search engine จัดอันดับเว็บคุณให้สูงกว่าคู่แข่งคุณ อย่าทำ
• อย่าเข้าร่วมกับ Link schemes ใดๆ ที่บอกว่าจะช่วยให้เว็บไซต์คุณมีอันดับที่ดีขึ้นได้ หรือ มี PageRank ที่สูงขึ้นได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลีกเลี่ยงWeb spammer หรือ เว็บไซต์ที่ไม่ดี (เว็บการพนัน, เว็บโป๊) มิฉะนั้นแล้วเว็บคุณอาจโดนผลกระทบในทางลบก็เป็นได้
• หลีกเลี่ยงการใช้โปรแกรมใดๆที่จะ submit เว็บเพจคุณ หรือ ตรวจสอบ ลำดับเว็บไซต์ของคุณ (check ranking) เพราะจะทำให้ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆทำงานหนักเกินความจำเป็น และยัง ฝ่าฝืนกฏของ Google อีกด้วย เราแนะนำให้คุณหลีกเลี่ยงโปรแกรมใดๆที่ส่ง quries ต่างๆโดยอัตโนมัติมายัง Google โดยเด็ดขาด
Quality Guidelines - Specific recommendations
• ห้าม ใช้ hidden text หรือ hiddent links (เช่น ทำตัวอักษร ให้เป็น สีขาว หรือ ไม่มีสี เพื่อให้ผู้ชมไม่เห็น แต่ search engine เห็น)
• ห้ามใช้ cloaking หรือ sneaky redirects
• ห้ามใช้ queries โดยอัตโนมัติมายัง Google
• ห้ามสร้างเว็บเพจหลายๆหน้า โดยที่ทุกๆหน้ามีเนื้อหาเหมือนๆกัน
• หลีกเลี่ยงการใช้ doorway เพจที่สร้างขึ้นเพื่อให้ลำดับการค้นหาดีขึ้น หรือ หลีกเลี่ยง cookies เช่น affiliate programs ที่ภายในเว็บเพจไม่มีเนื้อหาใดๆปรากฏอยู่
Qualitiy guidelines เหล่านี้เป็นข้อแนะนำและข้อห้าม ที่คุณควรปฏิบัติตาม ทั้งนี้ Google อาจใช้สิทธิ์ลงโทษเว็บไซต์ใดๆที่ใช้เทคนิคขี้โกงอื่นๆ เพื่อให้เว็บไซต์ตนเองมีอันดับทีสูงขึ้น เมื่อไรก็ได้ ซึ่งหากคุณปฏิบัติตามคำแนะนำที่ได้กล่าวมาแล้ว เชื่อว่าเว็บไซต์ของคุณจะอยู่ในลำดับคุณน่าจะพอใจอย่างแน่นอน
Google ขอแนะนำให้คุณปฎิบัติตามคำแนะนำเพื่อที่จะให้เรา ได้ค้นพบ อินเด็กซ์ และจัดอันดับเว็บไซต์ของคุณได้อย่างมีระสิทธิภาพ แม้ว่าคุณเลือกที่จะไม่ปฏิบัติตาม เรายังคงแนะนำให้คุณให้ความใส่ใจกับ Quality Guildeines (คำแนะนำสำคัญที่อย่างน้อยคุณต้องปฏิบัติตาม) ซึ่งจะระบุถึงข้อห้ามที่ไม่ควรกระทำเป็นอย่างยิ่ง มิฉะนั้นแล้วเว็บไซต์คุณจะถูกนำออกจากฐานข้อมูลของ Google ในที่สุด ซึ่งหากเว็บไซต์คุณถูกนำออกจากฐานข้อมูลของเราแล้ว นั่นหมายความว่า เว็บไซต์คุณจะไม่ปรากฏในผลลัพธ์การค้นหาของ Google และเว็บพันธมิตรของ Google แต่อย่างใด
Design and Content Guidelines คำแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบและเนื้อหาของเว็บไซต์คุณ
• ออกแบบเว็บไซต์ให้มีโครงสร้างที่ชัดเจน และ มีลิ๊งก์ นำทางไปยังทุกๆหน้าของเว็บเพจ
• ควรมี site map ที่ทำให้ผู้ชมสามารถไปยังหน้าที่ต้องการภายในเว็บไซต์คุณได้อย่างทั่วถึง
• ควรมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์กับผู้ชม และชัดเจน สะกดคำอย่างถูกต้อง
• คาดการณ์ถึง คำค้นหา ที่ผู้ชมอาจจะใช้ค้นหา และให้คำเหล่านั้นปรากฏอยู่ภายในเว็บไซต์ของคุณ
• ใช้ ข้อความ text แทน รูปภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชื่อสำคัญๆ เนื้อหา หรือ ลิงก์ เพราะ Google ไม่สามารถรู้ถึงข้อความที่ปรากฏอยู่ในรูปภาพได้
• ระบุ Title และ Alt text อย่างชัดเจน และถูกต้อง
• ตรวจสอบลิงก์เสียอย่างสม่ำเสมอ และแก้ไขให้ถฏต้อง
• หากคุณใช้ไดนามิกเพจ (URL ประกอบไปด้วย "?") โปรดระลึกไว้เสมอว่า search engine บางตัวเท่านั้นที่สามารถรับรู้ได้ ซึ่งเราคงแนะนำเว็บไซต์แบบ static มากกว่า
• คุณไม่ควรใส่ลิงก์จำนวนมากกว่า 100 ลิงก์ในหนึ่งหน้าเว็บเพจ
Technical Guidelines
• ใช้ text เบราเซอร์เช่น Lynx ตรวจสอบเว็บไซต์ของคุณ เพราะ search engine spider จำนวนมากตรวจสอบเว็บไซต์ที่เป็นข้อความเหมือน Lynx เสียเป็นส่วนใหญ่ หากคุณใช้ลูกเล่นเช่น JavaScript, cookies,session IDs, frames, DHTML, or Flash เป็นจำนวนมากอาจทำให้ spiderไม่สามารถตรวจสอบเว็บไซต์ของคุณได้อย่างทั่วถึง
• ออกแบบเว็บไซต์ให้ Search Bots (โปรแกรมที่ทำหน้าที่สำรวจเว็บไซต์ต่างๆนับล้านของ search engine แต่ละตัว) สำรวจเว็บไซต์คุณโดยปราศจากอุปสรรคอย่าง session IDs หรือ arguments ที่จะชี้นำ bots ไปยังหน้าที่คุณต้องการ เทคนิคเหล่านี้ดีสำหรับการตรวจสอบผู้ชมของคุณว่าไปหน้าเว็บเพจใดมาแล้วบ้าง แต่ไม่ดีกับ bots เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งหากคุณใช้เทคนิค session IDs หรือ arguments จะทำให้ search engine ไม่สามารถอินเด็กซ์เว็บไซต์คุณได้อย่างถูกต้อง
• แน่ใจว่าเว็บเซิฟเวอร์ของคุณสนุน If-Modified-Since HTTP header คุณสมบัตินี้จะทำให้เว็บเซิฟเวอร์ของคุณส่งข่าวถึง Google ว่าเนื้อหาภายในแต่ละเว็บเพจของคุณมีการเปลี่ยนแปลงไปแค่ไหน นับแต่ครั้งสุดท้ายที่ Google ทำการสำรวจ ซึ่งคุณสมบัตินี้ช่วยลดภาระด้าน bandwidth และoverhead ของเว็บเซิฟเวอร์คุณเป็นอย่างมาก
• ใช้ประโยชน์จาก robots.txt จากเว็บเซิฟเวอร์ของคุณ ไฟล์โรบอทนี้จะแจ้ง crawlers ว่าไดเรกทอรี่ใดสามารถทำการสำรวจได้ หรือ สำรวจไม่ได้ ตรวจสอบให้ถี่ถ้วนว่าเนื้อหาภายใน robots.txt นั้นไม่ได้ไปขัดขวางการสำรวจของ robots โดยไม่ได้ตั้งใจ (เขียนโค้ดผิด)
• งดการใช้ "&id=" เป็นพารามิเตอร์ ใน URLs ของคุณ เพราะ google จะไม่นำเว็บเพจที่มีพารามิเตอร์นี้มาไว้ในฐานข้อมูลของ Google
When your site is ready:เมื่อคุณพร้อม
• จงทำให้เว็บไซต์อื่นๆลิงก์มาที่เว็บไซต์คุณ ยิ่งมากยิ่งดี
• submit เว็บไซต์คุณเข้าสู่ ไดเรกทอรี่ต่างๆเช่น Open Directory หรือ Yahoo หรืออื่นๆ
Quality Guidelines: Basic principles (คำแนะนำพื้นฐาน)
• สร้างเว็บเพจ หรือ เว็บไซต์ สำหรับผู้ชม ไม่ใช่ search engines (ไม่ทำเว็บเพจใดๆขึ้นมาเพื่อให้มีอันดับการค้นหาที่ดีขึ้นใน search engine แต่เนื้อหานั้นไม่มีประโยชน์ใดๆต่อผู้ชมเว็บไซต์ของคุณเลย เทคนิคนี้เรียกว่า "Cloaking"
• หลีกเลี่ยงกลเม็ดวิธีใดๆที่จะทำให้เว็บไซต์คุณมีลำดับที่ดีขึ้นในผลลัพธ์การ ค้นหาของ Search engine จงถามตัวเองว่า การที่คุณใช้กลเม็ดใดๆเหล่านี้มีประโยชน์กับผู้ชมหรือไม่ ถ้ามี จงทำ แต่ถ้าทำเพื่อ search engine จัดอันดับเว็บคุณให้สูงกว่าคู่แข่งคุณ อย่าทำ
• อย่าเข้าร่วมกับ Link schemes ใดๆ ที่บอกว่าจะช่วยให้เว็บไซต์คุณมีอันดับที่ดีขึ้นได้ หรือ มี PageRank ที่สูงขึ้นได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลีกเลี่ยงWeb spammer หรือ เว็บไซต์ที่ไม่ดี (เว็บการพนัน, เว็บโป๊) มิฉะนั้นแล้วเว็บคุณอาจโดนผลกระทบในทางลบก็เป็นได้
• หลีกเลี่ยงการใช้โปรแกรมใดๆที่จะ submit เว็บเพจคุณ หรือ ตรวจสอบ ลำดับเว็บไซต์ของคุณ (check ranking) เพราะจะทำให้ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆทำงานหนักเกินความจำเป็น และยัง ฝ่าฝืนกฏของ Google อีกด้วย เราแนะนำให้คุณหลีกเลี่ยงโปรแกรมใดๆที่ส่ง quries ต่างๆโดยอัตโนมัติมายัง Google โดยเด็ดขาด
Quality Guidelines - Specific recommendations
• ห้าม ใช้ hidden text หรือ hiddent links (เช่น ทำตัวอักษร ให้เป็น สีขาว หรือ ไม่มีสี เพื่อให้ผู้ชมไม่เห็น แต่ search engine เห็น)
• ห้ามใช้ cloaking หรือ sneaky redirects
• ห้ามใช้ queries โดยอัตโนมัติมายัง Google
• ห้ามสร้างเว็บเพจหลายๆหน้า โดยที่ทุกๆหน้ามีเนื้อหาเหมือนๆกัน
• หลีกเลี่ยงการใช้ doorway เพจที่สร้างขึ้นเพื่อให้ลำดับการค้นหาดีขึ้น หรือ หลีกเลี่ยง cookies เช่น affiliate programs ที่ภายในเว็บเพจไม่มีเนื้อหาใดๆปรากฏอยู่
Qualitiy guidelines เหล่านี้เป็นข้อแนะนำและข้อห้าม ที่คุณควรปฏิบัติตาม ทั้งนี้ Google อาจใช้สิทธิ์ลงโทษเว็บไซต์ใดๆที่ใช้เทคนิคขี้โกงอื่นๆ เพื่อให้เว็บไซต์ตนเองมีอันดับทีสูงขึ้น เมื่อไรก็ได้ ซึ่งหากคุณปฏิบัติตามคำแนะนำที่ได้กล่าวมาแล้ว เชื่อว่าเว็บไซต์ของคุณจะอยู่ในลำดับคุณน่าจะพอใจอย่างแน่นอน
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
1. เว็บไซต์ (Website) หมายถึง ที่ตั้งเครือข่ายข้อมูลที่เชื่อมโยงติดต่อกันได้ทั่วทุกมุมโลกโดยการค้นหาข้อมูลในแต่ละเว็บไซต์จะต้องทราบชื่อเว็บไซต์ที่เราต้องการหาข้อมูลนั้น ๆ หรือสามารถค้นหา
เว็บไซต์ที่เราต้องการค้นคว้าผ่านทางเว็บไซต์ที่เปิดบริการให้ค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยได้ที่ www.google.com www.yahoo.com www.sanook.com เป็นต้น
1.1 การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ตามคำหลัก จะต้องอาศัยการประมวลข้อมูลที่ต้องการค้นหาออกมาเป็นคำหลัก (keyword) ให้ได้ก่อน
1.2 การสืบค้นข้อมูลในเว็บไซต์ตามหมวดหมู่ที่ทางเว็บไซต์ได้แบ่งหมวดหมู่ไว้อย่างชัดเจนทำให้สะดวกมากขึ้น โดยการจัดหมวดหมู่ของแต่ละเว็บไซต์จะแตกต่างกัน
2. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดประเภทนี้จะแตกต่างจากห้องสมุดทั่วไปเพราะสามารถใช้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต การค้นหาข้อมูลสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถค้นคว้าได้จากชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN) เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ เป็นต้น ซึ่งการค้นคว้าในห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์สามารถระบุข้อมูลหรือเงื่อนไขเฉพาะได้ชัดเจน เช่น ต้องการทราบผลงานของสุนทรภู่ เฉพาะเกี่ยวกับนิราศก็สามารถระบุเงื่อนไขที่เกี่ยวกับชื่อผู้แต่ง คือ สุนทรภู่ และระบุหัวข้อเรื่อง คือ นิราศ ระบบสามารถประมวลผลงานของสุนทรภู่เฉพาะเรื่องที่เป็นนิราศเท่านั้น
3. ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูล คือ แหล่งจัดเก็บข้อมูลหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง หรือหมายหัวข้อที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง จำนวนข้อมูลในฐานข้อมูลมักมีมากมายนับหมื่น แสน หรือล้านรายการ
ออนไลน์ (online) เป็นคำทับศัพท์ หมายถึง การเชื่อมโยงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ให้ได้ตรงตามความต้องการ อาจใช้เทคนิคง่าย ๆ เข้าช่วย ดังนี้
1. ทำความเข้าใจความหมายของคำเชื่อมที่สำคัญ 3 คำ คือ
"และ" ใช้เพื่อจำกัดขอบเขตของข้อมูลให้แคบลง
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" และ "เรื่องสั้น" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลของ ว.วินิจฉัยกุล เฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องสั้นเท่านั้น จะไม่ปรากฎเรื่องราวด้านอื่น ๆ เลย
"หรือ" ใช้เพื่อเพิ่มขอบเขตของข้อมูลให้กว้างขึ้น
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" หรือ "ทมยันตี" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลที่เกี่ยวกับ ว.วินิจฉัยกุล และทมยันตี ทั้งหมดที่มีอยู่ในฐานข้อมูลนั้น
"ไม่" ใช้เพื่อลดขอบเขตของข้อมูล
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" ไม่ "ประวัติ" ข้อมูลที่ได้จะเน้นเรื่องราวของ ว.วินิจฉัยกุลทุกด้าน จะไม่มีเรื่องเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ ว.วินิจฉัยกุล เลย
2. ใช้สัญลักษณ์ หากไม่ทราบวิธีสะกดคำที่ถูกต้อง
เครื่องหมายคำถาม ? ใช้แทนอักษร 1 ตัว
เครื่องหมายดอกจัน* ใช้แทนอักษรหลายตัว
ตัวอย่าง ต้องการค้นเรื่องวิญญาณ แต่ไม่แน่ใจหรือไม่ทราบว่าตัวสะกดเป็น ณ หรือ น ให้พิมพ์ "วิญญา?"
ต้องการค้นเรื่อง ปัญจวัคคีย์ แต่ไม่แน่ใจตัวการันต์ให้พิมพ์ ปัญจวัคคี*
3. ฐานข้อมูลอีริก (ERIC database) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลด้านการศึกษาให้ใช้คำว่า NEAR สำหรับการค้นที่รวมคำที่ใกล้เคียงกับคำที่ต้องการด้วย
เว็บไซต์ที่เราต้องการค้นคว้าผ่านทางเว็บไซต์ที่เปิดบริการให้ค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยได้ที่ www.google.com www.yahoo.com www.sanook.com เป็นต้น
1.1 การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ตามคำหลัก จะต้องอาศัยการประมวลข้อมูลที่ต้องการค้นหาออกมาเป็นคำหลัก (keyword) ให้ได้ก่อน
1.2 การสืบค้นข้อมูลในเว็บไซต์ตามหมวดหมู่ที่ทางเว็บไซต์ได้แบ่งหมวดหมู่ไว้อย่างชัดเจนทำให้สะดวกมากขึ้น โดยการจัดหมวดหมู่ของแต่ละเว็บไซต์จะแตกต่างกัน
2. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดประเภทนี้จะแตกต่างจากห้องสมุดทั่วไปเพราะสามารถใช้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต การค้นหาข้อมูลสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถค้นคว้าได้จากชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN) เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ เป็นต้น ซึ่งการค้นคว้าในห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์สามารถระบุข้อมูลหรือเงื่อนไขเฉพาะได้ชัดเจน เช่น ต้องการทราบผลงานของสุนทรภู่ เฉพาะเกี่ยวกับนิราศก็สามารถระบุเงื่อนไขที่เกี่ยวกับชื่อผู้แต่ง คือ สุนทรภู่ และระบุหัวข้อเรื่อง คือ นิราศ ระบบสามารถประมวลผลงานของสุนทรภู่เฉพาะเรื่องที่เป็นนิราศเท่านั้น
3. ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูล คือ แหล่งจัดเก็บข้อมูลหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง หรือหมายหัวข้อที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง จำนวนข้อมูลในฐานข้อมูลมักมีมากมายนับหมื่น แสน หรือล้านรายการ
ออนไลน์ (online) เป็นคำทับศัพท์ หมายถึง การเชื่อมโยงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ให้ได้ตรงตามความต้องการ อาจใช้เทคนิคง่าย ๆ เข้าช่วย ดังนี้
1. ทำความเข้าใจความหมายของคำเชื่อมที่สำคัญ 3 คำ คือ
"และ" ใช้เพื่อจำกัดขอบเขตของข้อมูลให้แคบลง
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" และ "เรื่องสั้น" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลของ ว.วินิจฉัยกุล เฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องสั้นเท่านั้น จะไม่ปรากฎเรื่องราวด้านอื่น ๆ เลย
"หรือ" ใช้เพื่อเพิ่มขอบเขตของข้อมูลให้กว้างขึ้น
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" หรือ "ทมยันตี" ข้อมูลที่ได้จะเน้นข้อมูลที่เกี่ยวกับ ว.วินิจฉัยกุล และทมยันตี ทั้งหมดที่มีอยู่ในฐานข้อมูลนั้น
"ไม่" ใช้เพื่อลดขอบเขตของข้อมูล
ตัวอย่าง ระบุว่า "ว.วินิจฉัยกุล" ไม่ "ประวัติ" ข้อมูลที่ได้จะเน้นเรื่องราวของ ว.วินิจฉัยกุลทุกด้าน จะไม่มีเรื่องเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ ว.วินิจฉัยกุล เลย
2. ใช้สัญลักษณ์ หากไม่ทราบวิธีสะกดคำที่ถูกต้อง
เครื่องหมายคำถาม ? ใช้แทนอักษร 1 ตัว
เครื่องหมายดอกจัน* ใช้แทนอักษรหลายตัว
ตัวอย่าง ต้องการค้นเรื่องวิญญาณ แต่ไม่แน่ใจหรือไม่ทราบว่าตัวสะกดเป็น ณ หรือ น ให้พิมพ์ "วิญญา?"
ต้องการค้นเรื่อง ปัญจวัคคีย์ แต่ไม่แน่ใจตัวการันต์ให้พิมพ์ ปัญจวัคคี*
3. ฐานข้อมูลอีริก (ERIC database) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลด้านการศึกษาให้ใช้คำว่า NEAR สำหรับการค้นที่รวมคำที่ใกล้เคียงกับคำที่ต้องการด้วย
แหล่งข้อมูลการสืบค้นบนเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
รูปแสดงเครือข่ายใยแมงมุม (WWW) ที่เชื่อมโยงรอบ ๆ วิกิพีเดียอินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้
เนื้อหา [ซ่อน]
1 ที่มา
2 การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต
3 จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก
4 อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
4.1 จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
4.2 อินเทอร์เน็ตแบนด์วิท
5 ดูเพิ่ม
6 หน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้อง
7 อ้างอิง
8 แหล่งข้อมูลอื่น
ที่มาอินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครือข่าย ARPANET (Advanced Research Projects Agency NETwork) ซึ่งเป็นเครือข่ายสำนักงานโครงการวิจัยชั้นสูงของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการสร้างเครือข่ายคือ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ และมีปฏิสัมพันธ์กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็นเครือข่ายเริ่มแรก ซึ่งต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเครือข่าย อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน
การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ตการประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันทำได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรือแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ด, การติดตามข่าวสาร, การสืบค้นข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรือซื้อสินค้าออนไลน์ , การดาวโหลด เกม เพลง ไฟล์ข้อมูล ฯลฯ, การติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์, การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ออนไลน์, การเรียนรู้ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต (Video Conference), โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต (VoIP), การอับโหลดข้อมูล หรือ อื่นๆ
แนวโน้มล่าสุดของการใช้อินเทอร์เน็ตคือการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งพบปะสังสรรค์เพื่อสร้างเครือข่ายสังคม ซึ่งพบว่าปัจจุบันเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวกำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ไฮไฟฟ์ และการใช้เริ่มมีการแพร่ขยายเข้าไปสู่การใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบันสนับสนุนให้การเข้าถึงเครือข่ายผ่านโทรศัพท์มือถือทำได้ง่ายขึ้นมาก
จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกไฟล์:Worldint2008pie.png
สัดส่วนการผู้ใช้อินเทอร์เน็ตแยกตามทวีป, ที่มา: http://www.internetworldstats.com/stats.htmปัจจุบัน จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกโดยประมาณ 2.095 พันล้านคน หรือ 30.2 % ของประชากรทั่วโลก (ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2554) โดยเมื่อเปรียบเทียบในทวีปต่างๆ พบว่าทวีปที่มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือ เอเชีย โดยคิดเป็น 44.0 % ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด และประเทศที่มีประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือประเทศจีน คิดเป็นจำนวน 384 ล้านคน
หากเปรียบเทียบจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกับจำนวนประชากรรวม พบว่าทวีปอเมริกาเหนือมีสัดส่วนผู้ใช้ต่อประชากรสูงที่สุดคือ 78.3 % รองลงมาได้แก่ ทวีปออสเตรเลีย 60.1 % และ ทวีปยุโรป คิดเป็น 58.3 % ตามลำดับ
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื่อมต่อมินิคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ในครั้งนั้นยังเป็นการ เชื่อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ช้าและไม่เป็นการถาวร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรียกว่า "เครือข่ายไทยสาร"
การให้บริการอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยได้เริ่มต้นขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2538 โดยความร่วมมือของรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง คือ การสื่อสารแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย และสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยให้บริการในนาม บริษัท อินเทอร์เน็ต ประเทศไทย (Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์รายแรกของประเทศไทย [1]
จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ปี 2534 (30คน) ปี 2535 (200 คน) ปี 2536 (8,000 คน) ปี 2537 (23,000 คน) ... ข้อมูลล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2551 จากจำนวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปประมาณ 59.97 ล้านคน พบว่า มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 16.99 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 28.2 และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 10.96 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18.2 [2]
อินเทอร์เน็ตแบนด์วิทปัจจุบัน (มกราคม 2553) ประเทศไทยมีความกว้างช่องสัญญาณ (Internet Bandwidth) ภายในประเทศ 110 Gbps และระหว่างประเทศ 110 Gbps
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
รูปแสดงเครือข่ายใยแมงมุม (WWW) ที่เชื่อมโยงรอบ ๆ วิกิพีเดียอินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้
เนื้อหา [ซ่อน]
1 ที่มา
2 การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต
3 จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก
4 อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
4.1 จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
4.2 อินเทอร์เน็ตแบนด์วิท
5 ดูเพิ่ม
6 หน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้อง
7 อ้างอิง
8 แหล่งข้อมูลอื่น
ที่มาอินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครือข่าย ARPANET (Advanced Research Projects Agency NETwork) ซึ่งเป็นเครือข่ายสำนักงานโครงการวิจัยชั้นสูงของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการสร้างเครือข่ายคือ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ และมีปฏิสัมพันธ์กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็นเครือข่ายเริ่มแรก ซึ่งต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเครือข่าย อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน
การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ตการประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันทำได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรือแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ด, การติดตามข่าวสาร, การสืบค้นข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรือซื้อสินค้าออนไลน์ , การดาวโหลด เกม เพลง ไฟล์ข้อมูล ฯลฯ, การติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์, การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ออนไลน์, การเรียนรู้ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต (Video Conference), โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต (VoIP), การอับโหลดข้อมูล หรือ อื่นๆ
แนวโน้มล่าสุดของการใช้อินเทอร์เน็ตคือการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งพบปะสังสรรค์เพื่อสร้างเครือข่ายสังคม ซึ่งพบว่าปัจจุบันเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวกำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ไฮไฟฟ์ และการใช้เริ่มมีการแพร่ขยายเข้าไปสู่การใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบันสนับสนุนให้การเข้าถึงเครือข่ายผ่านโทรศัพท์มือถือทำได้ง่ายขึ้นมาก
จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกไฟล์:Worldint2008pie.png
สัดส่วนการผู้ใช้อินเทอร์เน็ตแยกตามทวีป, ที่มา: http://www.internetworldstats.com/stats.htmปัจจุบัน จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกโดยประมาณ 2.095 พันล้านคน หรือ 30.2 % ของประชากรทั่วโลก (ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2554) โดยเมื่อเปรียบเทียบในทวีปต่างๆ พบว่าทวีปที่มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือ เอเชีย โดยคิดเป็น 44.0 % ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด และประเทศที่มีประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือประเทศจีน คิดเป็นจำนวน 384 ล้านคน
หากเปรียบเทียบจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกับจำนวนประชากรรวม พบว่าทวีปอเมริกาเหนือมีสัดส่วนผู้ใช้ต่อประชากรสูงที่สุดคือ 78.3 % รองลงมาได้แก่ ทวีปออสเตรเลีย 60.1 % และ ทวีปยุโรป คิดเป็น 58.3 % ตามลำดับ
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื่อมต่อมินิคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ในครั้งนั้นยังเป็นการ เชื่อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ช้าและไม่เป็นการถาวร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรียกว่า "เครือข่ายไทยสาร"
การให้บริการอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยได้เริ่มต้นขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2538 โดยความร่วมมือของรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง คือ การสื่อสารแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย และสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยให้บริการในนาม บริษัท อินเทอร์เน็ต ประเทศไทย (Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์รายแรกของประเทศไทย [1]
จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ปี 2534 (30คน) ปี 2535 (200 คน) ปี 2536 (8,000 คน) ปี 2537 (23,000 คน) ... ข้อมูลล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2551 จากจำนวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปประมาณ 59.97 ล้านคน พบว่า มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 16.99 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 28.2 และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 10.96 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18.2 [2]
อินเทอร์เน็ตแบนด์วิทปัจจุบัน (มกราคม 2553) ประเทศไทยมีความกว้างช่องสัญญาณ (Internet Bandwidth) ภายในประเทศ 110 Gbps และระหว่างประเทศ 110 Gbps